ผู้เขียน หัวข้อ: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์  (อ่าน 14154 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Davit

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 230
  • ถูกใจกด Like+ 4
  • เพศ: ชาย
เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์....
(Noise Reduction Techniques in Electronic Systems)
ผศ. ดร. อภินันท์ ธนชยานนท์
apinunt@ieee.org

เป็นชีทของ ม.มหานครฯ มี 5 บทความ(1-5)

http://www.ee.mut.ac.th/course/eeet0433/ppt/chap5.pdf

ออฟไลน์ Wizardmans

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 131
  • ถูกใจกด Like+ 14
ขอบคุณครับ ผมขออนุญาตนำไปแจกต่อนะครับ

ที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้ครับ
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=395.0

ออฟไลน์ CreÃte_Lek ♫

  • BuRaPha_TeAm
  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 57603
  • ถูกใจกด Like+ 1370
  • เพศ: ชาย
  • DHT Crazy Club
ขอบคุณครับ    [g-o-o-d]
Define Me Radiant Charm  เชื่อในสิ่งที่เราเลือก และ ภูมิใจในความเป็นเราในแบบที่เราเป็น    

Define Me Radiant Bright ไม่ต้องปรับตัวเองให้เป็นใคร แต่เป็นเราในเวอร์ชั่นที่ดีขึ้นในทุกๆวัน

>>> ข้อมูลส่วนตัวครับ

ออฟไลน์ track

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1385
  • ถูกใจกด Like+ 33
  • เพศ: ชาย
ขอบคุณครับ  [thumbs-up-raccoon]

ออฟไลน์ numz

  • ทีมพาออกทะเล !
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 5263
  • ถูกใจกด Like+ 49
  • เพศ: ชาย
  • หุ่นไล่กา !
 [clap hand2] [res] clapping-1-2 ขอบคุณครับ
fart-raccoon ข้อมูลติดต่อจ๊ะ

หากล่วงเกินใครไปขออภัยด้วยเพราะช่วงนี้.... กุติสแตก!

ออฟไลน์ akradech

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2654
  • ถูกใจกด Like+ 123
  • เพศ: ชาย
ขอบคุณครับ  clapping-1-2

ออฟไลน์ rambutan

  • ทีมพาออกทะเล !
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1988
  • ถูกใจกด Like+ 23
  • เพศ: ชาย
  • สังกัดพรรค U30+1
 clapping-1-2 clapping-1-2 clapping-1-2

ออฟไลน์ yoyoeiei

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 194
  • ถูกใจกด Like+ 1
ดีมากๆ เลยครับ     [res]


แต่ผมอ่านแล้ว งง -_-


เพราะเค้าไม่ได้ให้คำนิยามของคำว่า ความถี่สูง >>> มันคือเท่าไร  1k สูงรึเปล่า หรือว่าต้อง 100M ขึ้น ถึงจะเรียกว่าสูง

ผมเลยมึนๆ 

และก็เลยสรุปเอาเองเลยว่า ใช้ในเครื่องเสียง ต่อแบบ ขนานดีกว่า อนุกรม ^^;;


ลองผู้รู้มาสรุปให้เข้าใจแบบง่ายๆ อีกที่

ออฟไลน์ Guy_Audio

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2746
  • ถูกใจกด Like+ 93
  • เพศ: ชาย
  • UNIQUE MADE - BOUTIQUE SOUND
ดีมากเลยครับ แต่ก็แอบงงเหมือนกันครับ [c--c]

ออฟไลน์ tamarin51

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 119
  • ถูกใจกด Like+ 2
 clapping-1-2  ขอบคุณครับ
ข้อมูลส่วนตัว TAMARIN51 ครับ
ผลงานในอดีต KT88SE 2A3SE

ออฟไลน์ Davit

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 230
  • ถูกใจกด Like+ 4
  • เพศ: ชาย
ดีมากๆ เลยครับ     [res]


แต่ผมอ่านแล้ว งง -_-


เพราะเค้าไม่ได้ให้คำนิยามของคำว่า ความถี่สูง >>> มันคือเท่าไร  1k สูงรึเปล่า หรือว่าต้อง 100M ขึ้น ถึงจะเรียกว่าสูง

ผมเลยมึนๆ  

และก็เลยสรุปเอาเองเลยว่า ใช้ในเครื่องเสียง ต่อแบบ ขนานดีกว่า อนุกรม ^^;;


ลองผู้รู้มาสรุปให้เข้าใจแบบง่ายๆ อีกที่



อ้าว ภาคโทรคมฯ มาตอบหน่อย...
ผมหาได้เท่านี้

การเเบ่งช่วงความถี่


ออฟไลน์ audiomania

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2455
  • ถูกใจกด Like+ 402
  • เพศ: ชาย
ไม่ใช่ก๊วนโทรคม แต่เป็นพวก"วัดคุม"  [roll] ตอบตามเทคนิคเครื่องมือวัดน่ะครับ

สำหรับส่วนตัวผมเอง งานเสียงที่เป็นอะนาลอกความถี่ต่ำกว่า 200kHz เป็นความถี่ต่ำครับ
ส่วนความถี่งาน DAC สัญญาณคุมโหมด และการพ่วงสัญญาณอื่นๆ ที่รูปสัญญาณมีช่วงที่เป็นสัญญาณสี่เหลี่ยม พวกพัลส์ที่มาประจำตามเวลา จะนับเป็นดิจิตอลทั้งหมดครับ

แต่เอาเข้าจริง ความสำคัญของกราวด์ความถี่สูงใน Chap.5 ช่วงหลังๆ ที่แนะนำการทำโครงข่าย digital ground จะหมายถึงความถี่ที่สูงเกิน 20MHz น่ะครับ เพราะมันจะเริ่มเกินความถี่ Fundametal ของ XTAL แล้ว การตัดสัญญาณรบกวนที่คลุมผิวตัวนำที่เรียงเป็นตารางจะช่วยคุม stray capacitive ได้ดีครับ

แต่งานความถี่ต่ำ หรือความถี่เสียง ใช้กราวด์เพลนจุดร่วมจุดเดียวจะดีกว่า และเอาจุดร่วมของดิจิตอลมารวมที่นี่ด้วย ตามรูปในเอกสารจะได้ผลดีที่สุดครับ

ส่วนวิธีแยกกราวด์ ก็ต้องดูเป็นกรณีๆ ไป ซึ่งปกติตัวแยกจำมีผลต่อแบนด์วิดธ์ที่ส่งผ่านจะหดลงด้วยครับ  [gr_in]
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 21 มีนาคม 2012, 07:52:53 PM โดย audiomania »