www.diyaudiovillage.net

DIY มือใหม่ , TIPS & TRICKS , R&D SECTION => DIY มือใหม่ => ข้อความที่เริ่มโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 03:32:12 PM

หัวข้อ: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 03:32:12 PM
ผมเคย post เรื่องพวกนี้ใน web เพื่อนบ้านไปสองครั้งแล้วครับ ปัญหาคือ web ที่ฝากรูปที่ใช้งานไม่ยอมให้ฝากฟรีๆอีกต่อไป Google เองก็ไม่ยอมให้ฝากแล้วเอาขึ้น web ได้อีกแล้ว เพิ่งยกเลิกไปเมื่อปีที่แล้ว ผมเลยย้ายมาที่ dropbox แทน ซึ่งไฟล์ต่างๆไม่ใหญ่มาก คิดว่าคงใช้งานได้ดีครับ เนื้อหาต่างๆผมพยายาม update ให้อ่านง่ายขึ้นด้วยครับ

ผมลองหาวีดิโอใน YouTube ที่อธิบายเรื่องหลอดแบบเข้าใจง่ายและก็พบว่าวีดิโอนี้เข้าท่าสุด เลือกแบบเก่าๆหน่อย เพราะฟังง่าย ภาพและเสียงชัดเจนดีด้วย ลองดูนะครับ แล้วหลังจากดูจบแล้ว จะมีคำอธิบายด้านล่างอีกที

http://youtu.be/04sCi50B5CY (http://youtu.be/04sCi50B5CY)

จากวีดิโอด้านบน ผมวาดรูปแบบจำลองง่ายๆตามนี้ครับ

(https://www.dropbox.com/s/pcr5i65mn2lcc38/Basic-Pre%20-%20Basic%20tube%202.jpg?raw=1)
รูปแรก สมมติว่าแท่งสีน้ำเงินคือ cathode มีหน้าทีปล่อย electron ออก ซึ่งการที่จะปล่อย electron ออกไปได้นั้น cathode จะต้องถูกเผาด้วยความร้อน ซึ่งถ้าเป็นหลอด direct heated หมายถึง cathode และไส้หลอดคือชิ้นเดียวกัน แต่ถ้าเป็นหลอด indirect heated หมายถึง cathode จะถูกเผาด้วยไส้หลอดอีกทีนึง เมื่อไส้หลอดร้อนได้ที่แล้ว electron พร้อมที่จะหลุดออกมา ในขณะเดียวกัน เมื่อเพลท ซึ่งในรูปสมมติว่าเป็นแท่งสีแดง มี voltage เป็นบวก (V > 0) อยู่ ก็จะดึง electron เข้าไป หาตัวมัน ตรงนี้คือหลอดเริ่มนำกระแสแล้ว เมื่อเขียนเป็นวงจร กระแสที่ไหลจะมีทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของ electron เพราะเราจะคุ้นเคยจากกระแสที่ไหลจากบวกไปลบ แต่ในความเป็นจริงแล้ว electron จะไหลจากขั้วลบไปขั้วบวกครับ ตอนนี้จำไว้แค่นี้ก่อน ถ้าลงลึกไปกว่านี้ต้องกลับไปเริ่มต้นที่ฟิสิกส์พื้นฐาน ซึ่งคงไม่จำเป็นตอนนี้ครับ


คราวนี้ grid ที่เห็นเป็นจุดสีเขียวๆมีไว้ทำไม? จริงๆแล้ว grid คือ เส้นลวดเล็กๆที่พันรอบ cathode (ภาพนี้สมมติว่าเป็นภาพหน้าตัดของเส้น grid) เพื่อควบคุมปริมาณ electron ที่จะวิ่งไปหา plate โดยใช้การป้อน voltage เป็นลบ (V < 0) เมื่อเทียบกับ cathode ทำให้สามารถควบคุมปริมาณ electron ได้ ซึ่งหมายความว่าสามารถควบคุมกระแสที่ไหลได้จากการควบคุม voltage ที่ grid

(https://www.dropbox.com/s/vmxdzlwgqjuo8o1/Basic-Pre%20-%20Basic%20tube.jpg?raw=1)

ความสัมพันธ์ของ curve กับการทำงานของหลอด triode เกิดขึ้นเมื่อมีการป้อน voltage ที่ grid ในปริมาณที่แตกต่างกัน การนำกระแสก็จะเปลี่ยนไปด้วย และเมื่อ แม้ voltage ที่ grid เป็นลบ แต่ voltage ที่ Plate มีไม่เท่ากัน การนำกระแสก็จะไม่เท่ากันด้วย (วีดิโอนาทีที่ 3:16-6:41)

ถ้าไม่เข้าใจตรงไหนก็ post ถามได้เลยครับ post ถัดไปจะเป็นเรื่อง plate curve กับการคำนวนครับ

ใครที่ดูวีดิโอตั้งแต่นาทีที่ 7 ขึ้นไป แล้วมีข้อสงสัยก็ถามได้เช่นกันครับ


*** 5 มิย 2560 ผมทำ index ไว้สำหรับสมาชิกที่อาจจะเพิ่งเริ่มอ่าน หรือบางคนอยากทบทวนแต่ไม่ต้องการอ่านไล่ทีละหน้า index นี้จะ update เรื่อยๆไปตามเนื้อหาครับ

รูปภาพและวีดิโอแสดงให้เห็นภาพการทำงานของหลอด
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335872#msg335872 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335872#msg335872)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335915#msg335915 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335915#msg335915)

Basic circuit analysis, แบบฝึกหัด
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336260#msg336260 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336260#msg336260)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335973#msg335973 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg335973#msg335973)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336071#msg336071 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336071#msg336071)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336261#msg336261 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336261#msg336261)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336339#msg336339 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336339#msg336339)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336518#msg336518 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg336518#msg336518)

Coupling capacitor
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337084#msg337084 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337084#msg337084)

ความหมายของ plate curve
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337003#msg337003 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337003#msg337003)

การ bias หลอดและการคำนวนทำงานของหลอดโดยใช้ loadline คู่กับ plate curve
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337085#msg337085 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337085#msg337085)
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337431#msg337431 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337431#msg337431)

plate curve ของหลอด 6DJ8 และ 5687
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337162#msg337162 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337162#msg337162)

วิธีทำ cathode bais
http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337636#msg337636 (http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=20047.msg337636#msg337636)





หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:05:50 PM
ดูโพสด้านบนแล้ว   ไม่เข้าใจ อยากรู้อะไรตรงไหน ถามเลยนะครับ อย่าปล่อยผ่าน โอกาสอย่างนี้มีแค่ครั้งเดียว 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:11:12 PM
 [0002053E] [0002053E] [0002053E]
ขอบคุณครับ อาจารย์
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:21:33 PM
ถามอาจารย์ครับ สมมุต cathode สัก 19 v gride ก็ต้องมากก่วา 19 v ใช่มั้ยครับ(ความหมาย cathode เป็นลบ)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:39:26 PM
ขอบคุณครับอาจารย์ [0002053E] [0002053E] [0002053E]
ขอนั่งหน้าห้องเลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:44:04 PM
คำถามไม่ชัดเจนครับ คือถามว่าต้องมากกว่า 19V แล้วจะเกิดอะไรขึ้นหรือเปล่าครับ?
ถ้ามีรูปวาดประกอบด้วยก็ดีครับ จะได้ตอบได้ตรงประเด็น

ถามอาจารย์ครับ สมมุต cathode สัก 19 v gride ก็ต้องมากก่วา 19 v ใช่มั้ยครับ(ความหมาย cathode เป็นลบ)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Warm ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 04:52:28 PM
ขอบคุณครับ อ.
กระทู้ดีมากครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: p.k.j. ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 05:07:10 PM
ขอบคุณครับ อ.  [enjoyment]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 06:15:14 PM
มาเช็กชื่อครับ ขอบคุณครับอาจารย์  [YL76]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: emotion13956 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 06:22:17 PM
 [run-away-raccoon] มาคร้าบบบ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: momo ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 06:52:20 PM
 [huge-thumbs-up] สมัครเรียนด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 06:59:04 PM
เช็คชื่อด้วยครับ [smiling-tongue]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 07:20:09 PM
เดี๋ยวรอตอบคำถามคุณ nh123 ก่อน แล้วจะมีการบ้านให้ทำครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nonglek ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 07:29:46 PM
ขอบคุณครับผม   ขอเข้าเรียนด้วยคน ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: โต้ง DIY ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 08:02:21 PM
ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 08:07:41 PM
คำถามไม่ชัดเจนครับ คือถามว่าต้องมากกว่า 19V แล้วจะเกิดอะไรขึ้นหรือเปล่าครับ?
ถ้ามีรูปวาดประกอบด้วยก็ดีครับ จะได้ตอบได้ตรงประเด็น

ถามอาจารย์ครับ สมมุต cathode สัก 19 v gride ก็ต้องมากก่วา 19 v ใช่มั้ยครับ(ความหมาย cathode เป็นลบ)
ครับอาจารย์ หมายถึงที่เคยทำแอมป์ ไฟที่cathode มันไม่เป็นลบ เหมือนในวิดีโอ วงจรจริง1.9 v,16vบ้าง
ผมเลยเข้าใจว่า cathode 19 v gride ต้องมาก่วา เช่น 100 v plate ก็ต้องมากก่วา gride อีกเป็นเท่าตัวครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 08:16:52 PM

    จากโพสแรกที่ Aj. Karin โพสเปิดให้ถามเกี่ยวกับหลักการทำงานของหลอด  ผมเห็นมีน้า nh123 ถามอยู่คนเดียว ที่เหลือเข้าใจกันหมดแล้วหรือครับ  ผมเป็นห่วงว่า ถ้าไปต่อในส่วนที่ Aj. Karin บอกไว้คือ load line เกรงว่าจะมึนกันหนัก  เพราะย้อนไปเมื่อ 6-7 ปีก่อนผมยังจำบรรยากาศได้ดีว่าแค่เปิดกระทู้ตรงส่วนนี้เหมือนกับวันนี้ก็มีคนที่เข้ามาเรียนถามกันเข้ามาเยอะ และ อธิบายกันอยู่พักใหญ่กว่าคนส่วนใหญ่จะเข้าใจหลักการทำงานกัน  แต่ถ้าคิดว่าเข้าใจพื้นฐานการทำงานของหลอดกันแล้วจริงๆก็ดีครับ ผมถามด้วยความเป็นห่วงแค่นั้นแหละ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: ArtFish ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 08:44:58 PM
มาเรียนด้วยคนครับอาจารย์ [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: beervw65 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:18:20 PM
 [enjoyment] [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:19:30 PM
เด็กหลังห้องคอยให้แถวหน้าถามครับ [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:27:16 PM
เข้าใจคำถามแล้วครับ แต่ในวีดิโอไม่ได้บอกว่า cathode ต้องเป็นลบหรือบวกเลยนะครับ ผมสรุปเนื้อหาจากวีดิโอตามนี้ครับ

- กระแสไฟฟ้า คือการไหลของ electron
- cathode เป็นตัวปล่อยอีเล็คตรอนเมื่อโดนความร้อน
- electron จะวิ่งจาก cathode ไปยัง plate เพราะ plate มีศักย์เป็นบวก
- ไฟลบที่ grid ทำหน้าที่คล้ายกับก๊อกน้ำ คอยปรับให้น้ำไหลน้อยหรือมาก จากความรู้พื้นฐานที่ประจุเหมือนกันจะผลักกันสามารถนำมาประยุกต์การใช้งานโดยการนำไฟลบมาต่อที่ grid ถ้าที่ grid ลบมาก ปริมาณ electron ที่ไหลไปที่ plate ก็จะน้อยลง ถ้า grid ลบน้อย ปริมาณ electron จะไหลไปที่ plate มากขึ้น (นาทีที่ 3:16 - 5:05)

ส่วนคำถามเรื่องแรงดันที่ cathode ผมขอติดไว้ก่อนครับ เอาไว้ถึงเวลาคำนวนเพื่อการใช้งาน จะกลับมาตอบอีกที ตอนนี้ขอให้ทำความเข้าใจหลักการพื้นฐานของหลอด Triode ก่อนครับ

คำถามไม่ชัดเจนครับ คือถามว่าต้องมากกว่า 19V แล้วจะเกิดอะไรขึ้นหรือเปล่าครับ?
ถ้ามีรูปวาดประกอบด้วยก็ดีครับ จะได้ตอบได้ตรงประเด็น

ถามอาจารย์ครับ สมมุต cathode สัก 19 v gride ก็ต้องมากก่วา 19 v ใช่มั้ยครับ(ความหมาย cathode เป็นลบ)
ครับอาจารย์ หมายถึงที่เคยทำแอมป์ ไฟที่cathode มันไม่เป็นลบ เหมือนในวิดีโอ วงจรจริง1.9 v,16vบ้าง
ผมเลยเข้าใจว่า cathode 19 v gride ต้องมาก่วา เช่น 100 v plate ก็ต้องมากก่วา gride อีกเป็นเท่าตัวครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:30:43 PM
ยังไงลองดูวิดิโอกับคำอธิบายในกระทู้แรกดีๆนะครับ พรุ่งนี้มีการบ้านด้วย ต้องการคนตอบอย่างน้อย 3 คน ก่อนจะไปถึงเรื่องการคำนวน  [chick-guitar]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:41:16 PM
ถามอาจารย์ครับ สมมุต cathode สัก 19 v gride ก็ต้องมากก่วา 19 v ใช่มั้ยครับ(ความหมาย cathode เป็นลบ)
  จากโพสแรกให้ทำความเข้าใจกับการทำงานของหลอดก่อนว่ามันมีการทำงานอย่างไร แต่ละชิ้นส่วนมันมีหน้าที่อะไรครับ พอเรามีความเข้าใจพื้นฐานแล้ว   เมื่อไปที่ กราฟแล้วลาก load line กำหนดจุดทำงานจะมองเห็นตัวเลขต่างๆเอง รวมทั้งการคำนวณที่ Aj. karin จะอธิบายต่อไป ครับ    สามคนน้อยไปนะครับ Aj. Karin ที่อุตส่าห์สละเวลาไปเตรียมข้อมูล
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 09:57:23 PM
 [0002053E]  ขอมาเรียนด้วยคนนะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 10:01:23 PM
จากนาทีที่ 9 ไปผมก็ไม่เข้าใจละครับอาจารย์ เพราะแปลเขาไม่ออกดูรูปก็ไม่เข้าใจครับ
screen grid
suppresor grid
beam forming plates
เขาอาธิบายอะไรบ้างครับ [what11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 10:04:42 PM
ขอถามครับ หลักการของหลอดคือ เราป้อนความร้อนให้แท่ง cathode เพื่อให้ปล่อยอิเล็กตรอนออกมา โดยที่เราต้องจ่ายไฟให้ ฮีทเตอร์ชุดนึงเพื่อทำความร้อนแล้วเราต้องจ่ายไฟให้แท่ง cathode อีกชุดนึงใหมครับ และอิเล็กตรอนที่ปลอยออกมานี่มาจาก cathode โดยตรงหรือมาจากกระแสที่เราปล่อยมาให้แท่ง cathode ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: emotion13956 ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 10:05:17 PM
 [enjoy-raccoon] อาจารย์ครับ
รบกวนขยายความตรงนี้หน่อยครับ งง
แม้ voltage ที่ grid เป็นลบ แต่ voltage ที่ Plate มีไม่เท่ากัน การนำกระแสก็จะไม่เท่ากันด้วย
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 10:19:44 PM
ขอทบทวนความรู้เดิมก่อนนะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 10:50:47 PM
ขอถามครับ หลักการของหลอดคือ เราป้อนความร้อนให้แท่ง cathode เพื่อให้ปล่อยอิเล็กตรอนออกมา โดยที่เราต้องจ่ายไฟให้ ฮีทเตอร์ชุดนึงเพื่อทำความร้อนแล้วเราต้องจ่ายไฟให้แท่ง cathode อีกชุดนึงใหมครับ และอิเล็กตรอนที่ปลอยออกมานี่มาจาก cathode โดยตรงหรือมาจากกระแสที่เราปล่อยมาให้แท่ง cathode ครับ
ผมตอบแทนก่อนละกัน Aj. คงไปนอนแล้ว ความร้อนที่ คาโทรดได้รับเกิดจากไส้หลอดครับ  ก่อนจะกระแสจะไหล มาดูที่ขั้นตอนก่อนหน้านั้นก่อนครับ ขอยกตัวอย่างหลอด triode ทั่วไป เมื่อ ความต่างศักดิ์มีค่าเท่ากับ V supply  ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าระหว่าง เพลท กับ คาโทรด และ ดึงเอา electron ที่ลอยอยู่บนผิวหน้าของ คาโทรด ให้วิ่งไปหาเพลท   

(https://lh3.googleusercontent.com/-nxeP6bV_OJ0/ViZf64j8a8I/AAAAAAAAcFs/EF1O27doNxc/s512-Ic42/Triode.gif)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 11:21:38 PM
ขอถามครับ หลักการของหลอดคือ เราป้อนความร้อนให้แท่ง cathode เพื่อให้ปล่อยอิเล็กตรอนออกมา โดยที่เราต้องจ่ายไฟให้ ฮีทเตอร์ชุดนึงเพื่อทำความร้อนแล้วเราต้องจ่ายไฟให้แท่ง cathode อีกชุดนึงใหมครับ และอิเล็กตรอนที่ปลอยออกมานี่มาจาก cathode โดยตรงหรือมาจากกระแสที่เราปล่อยมาให้แท่ง cathode ครับ
ผมตอบแทนก่อนละกัน Aj. คงไปนอนแล้ว ความร้อนที่ คาโทรดได้รับเกิดจากไส้หลอดครับ  ก่อนจะกระแสจะไหล มาดูที่ขั้นตอนก่อนหน้านั้นก่อนครับ ขอยกตัวอย่างหลอด triode ทั่วไป เมื่อ ความต่างศักดิ์มีค่าเท่ากับ V supply  ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าระหว่าง เพลท กับ คาโทรด และ ดึงเอา electron ที่ลอยอยู่บนผิวหน้าของ คาโทรด ให้วิ่งไปหาเพลท   

(https://lh3.googleusercontent.com/-nxeP6bV_OJ0/ViZf64j8a8I/AAAAAAAAcFs/EF1O27doNxc/s512-Ic42/Triode.gif)


ถ้าเป็นแบบนี้เราควรไล่วงจรจากทางเดินของอิเล็กตรอนหรือทางเดินของกระแส เพราะตอนนี้ผมงงอยู่เรื่องนึงซึ่งทำให้ไปต่อไม่ได้คือ กระแสเดินในวงจรยังไง เข้าทางไหน วิ่งไปทางไหน น้าเล็กพอจะมีตัวอย่างที่เห้นภาพชัดๆให้หน่อยได้ใหมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 11:44:19 PM
 กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 17 พฤษภาคม 2017, 11:50:00 PM
[enjoy-raccoon] อาจารย์ครับ
รบกวนขยายความตรงนี้หน่อยครับ งง
แม้ voltage ที่ grid เป็นลบ แต่ voltage ที่ Plate มีไม่เท่ากัน การนำกระแสก็จะไม่เท่ากันด้วย
  กำหนดจุดบน plate curve แล้วจะเห็นภาพ และ เข้าใจได้ง่ายขึ้นครับ กรณีที่ Vg คงที่  Vp เปลี่ยน กระแสก็จะเปลี่ยนไปด้วย

(https://www.gearslutz.com/board/attachments/diy-electronic-build-refurbishment-photo-diaries/233855d1304896932-electro-harmonix-12ay7-mic-pre-amp-modifications-biasing-graphs-12au7.jpg)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:07:45 AM
ขยายความจากคุณเล็กให้ครับ

ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:24:24 AM
อ้างถึง
ถ้าเป็นแบบนี้เราควรไล่วงจรจากทางเดินของอิเล็กตรอนหรือทางเดินของกระแส เพราะตอนนี้ผมงงอยู่เรื่องนึงซึ่งทำให้ไปต่อไม่ได้คือ กระแสเดินในวงจรยังไง เข้าทางไหน วิ่งไปทางไหน น้าเล็กพอจะมีตัวอย่างที่เห้นภาพชัดๆให้หน่อยได้ใหมครับ


กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด


คิดว่าต้องมีคนสงสัยแน่ๆ  [yellow-lol] เพราะสมัยเรียนหนังสือผมก็สงสัยเหมือนกันครับ

กระแสที่ไหลจากบวกไปลบนั้น เป็นแนวความคิดก่อนที่นักวิทยาศาสตร์จะมาเข้าใจทีหลังว่ากระแสคือการไหลของ electron ในยุคนั้นเวลาเขียนกระแสไหลจะเขียนจากบวกไปลบ และก็ใช้วิธีคิดนี้มาตลอดจนกระทั่งถึงวันนี้ครับ ซึ่งวิธีการคำนวนต่างๆก็ใช้การคำนวนกระแสที่ไหลจากบวกไปลบมาตลอด

http://youtu.be/4IXP5GM2IQU (http://youtu.be/4IXP5GM2IQU)

เมื่อผ่านหลักการทำงานพื้นฐานของหลอด triode ไปแล้ว จะเป็นเรื่องการคำนวนซึ่งเราจะคุ้นเคยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:40:10 AM
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Molecular Man ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:52:29 AM
 *ขออนุญาตแวะเข้ามาติดตาม...จะได้เคาะสนิมเก่าๆ ออกด้วยคนนะครับ..... [chick-clap]

 *ดีแล้วครับที่เริ่มจากหลอด TRIODE ไปพลางๆ ก่อน.. [chick7]

 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:58:46 AM
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Warm ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:23:41 AM
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:41:58 AM
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ



 [frightened-12]
รับทราบครับอาจารย์. จะรีบทำความเข้าใจโดยเร็วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:43:23 AM
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]


ป๋า Warm. ช่วยชี้แนะด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:46:25 AM
ผมก็เข้ามาอ่านก่อนตั้งแต่เมื่อวานแล่ะ แต่ขอไปทำความเข้าใจด้วยตัวเองก่อน
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:50:08 AM
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]


ป๋า Warm. ช่วยชี้แนะด้วยครับ

งานเข้าผมเหมือนกันเพราะไม่เห็นรูปบางรูปเนื่องจากระบบ ICT ของบริษัท  [chick4]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:23:04 AM
อ้างถึง
ถ้าเป็นแบบนี้เราควรไล่วงจรจากทางเดินของอิเล็กตรอนหรือทางเดินของกระแส เพราะตอนนี้ผมงงอยู่เรื่องนึงซึ่งทำให้ไปต่อไม่ได้คือ กระแสเดินในวงจรยังไง เข้าทางไหน วิ่งไปทางไหน น้าเล็กพอจะมีตัวอย่างที่เห้นภาพชัดๆให้หน่อยได้ใหมครับ


กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด


คิดว่าต้องมีคนสงสัยแน่ๆ  [yellow-lol] เพราะสมัยเรียนหนังสือผมก็สงสัยเหมือนกันครับ

กระแสที่ไหลจากบวกไปลบนั้น เป็นแนวความคิดก่อนที่นักวิทยาศาสตร์จะมาเข้าใจทีหลังว่ากระแสคือการไหลของ electron ในยุคนั้นเวลาเขียนกระแสไหลจะเขียนจากบวกไปลบ และก็ใช้วิธีคิดนี้มาตลอดจนกระทั่งถึงวันนี้ครับ ซึ่งวิธีการคำนวนต่างๆก็ใช้การคำนวนกระแสที่ไหลจากบวกไปลบมาตลอด

[url]http://youtu.be/4IXP5GM2IQU[/url] ([url]http://youtu.be/4IXP5GM2IQU[/url])

เมื่อผ่านหลักการทำงานพื้นฐานของหลอด triode ไปแล้ว จะเป็นเรื่องการคำนวนซึ่งเราจะคุ้นเคยครับ


สรุปว่าต่อไปนี้เราจะคุยกันที่การไหลของกระแส จากบวกไปลบ ไช่ใหมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:35:32 AM
ใช่ครับ ถ้าเป็นวงจร คือเป็นสัญลักษณ์ต่างๆ และการคำนวน จะใช้จากบวกไปลบเสมอครับ

แต่ถ้าเป็นคำอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆภายในตัวหลอด ยังคงใช้การไหลของ electron ในการอธิบายเพื่อให้เห็นภาพครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:43:13 AM

(http://upic.me/i/xs/biasinggraphs12au7x.jpg) (http://upic.me/show/60838411)

ขอตอบด้วยครับ
ผมให้กริด คงที่ ที่ -4 v ลากไฟเพลทให้เพิ่มขึ้น 150 v ได้กระแส 7.5 ma,เพลท 200 v ได้กระแส 15 ma,เพลท 250 v ได้กระแส 22.5 ma ครับ(ตัวเลขโดยประมาณครับ) [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:45:11 AM
กริดคงที่  ไฟเพลทเพิ่มขึ้น กระแสเพิ่มขึ้น ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:52:50 AM
 [huge-thumbs-up]  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]

ถ้าทุกคนเข้าใจตรงนี้ได้ การคำนวนจะง่ายขึ้นมากเลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:23:49 AM
([url]http://upic.me/i/xs/biasinggraphs12au7x.jpg[/url]) ([url]http://upic.me/show/60838411[/url])

ขอตอบด้วยครับ
ผมให้กริด คงที่ ที่ -4 v ลากไฟเพลทให้เพิ่มขึ้น 150 v ได้กระแส 7.5 ma,เพลท 200 v ได้กระแส 15 ma,เพลท 250 v ได้กระแส 22.5 ma ครับ(ตัวเลขโดยประมาณครับ) [embarrassed]



น้า nh123 ตอบ    ทำให้ผมเริ่มมองเห็นแสงสว่างจากปลายอุโมงค์ ก่อนนี้ ยังมองไม่เห็นทาง [chick-milk-bottle] [chick-milk-bottle] [chick-milk-bottle]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:40:44 AM
งั้นลองอธิบายตามความเข้าใจก็ได้นะครับ ไม่ต้องห่วงว่าถูกหรือผิด ถ้ามีข้อสงสัยก็ถามต่อได้เลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:58:10 AM
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ

หลังจากเห็นกระทู้น้าแล้ว nh123  แล้ว ขอตอบดังนี้ครับ
คำถาม  ทำไม  Plate voltage ต่างกัน ขณะที่ Grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน   
ขอตอบ (เดา) เพราะว่า แรงดันไฟที่สูงกว่า เมื่อ Grige voltage เท่ากัน จึงปล่อยกระแสได้สูงกว่า
                  ตามภาพของน้า nh123  Plate voltage  ที่  200 v  Grid voltage -4 v  กระแส 15 mA   
                  ถ้า Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v  โดยประมาณ ใช่รึเปล่าครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 11:07:16 AM
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ

อ้างถึง
Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v

ถ้าดูตามรูป จะเห็นว่ามันไม่ตัดกับเส้น grid voltage เลย ดังนั้นเราต้องจินตนาการนิดหน่อยว่าเส้น grid ที่ขนานกับ -2V ที่บริเวณที่เส้น plate voltage (สีแดงแนวตั้ง) 150V ตัดกับเส้น plate current (สีแดงแนวนอน) อยู่ตรงไหน ลองวาดดูก็ได้ครับ

จากในรูป ผมประมาณเอาว่าน่าจะเป็นซัก -1.5V เพราะถ้ามันเป็น -1V มันควรจะอยู่ตรงกลางระหว่าง 0 กับ -2 แต่ทีเห็นมันเยื้องมาทางขวาหน่อย เลยน่าจะเป็น -1.5V ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 11:18:52 AM
ตามความเข้าใจของผม เมื่ออิเล็กตรอนลบที่ขากริดเพิ่มขึ้นทำให้กระแสอิเล็กตรอนจากแท่ง cathode ที่เป็นลบเหมื่อนกันกระโดดมาหาอิเล็กตรอนที่เป้นบวกตรงแผ่นเพรทไม่ได้เพราะ เมื่ออิเล็กตรอนลบจาก cathode มาเจอกับ อิเล็กตรอนลบที่แผ่นกริดทำให้เกิดการผลักกันขึ้นเลยทำให้หลอดไม่นำกระแส แต่ในทางกลับกัน ถ้าอิเล็กตรอนที่แผ่นกริดลดลงซึ่งก็คือ ไฟบวก จึงทำให้อิเล็กตรอนจากแท่ง cathode วิ่งหาเพรทได้จึงเกิดการนำกระแส ยิ่งอิเล็กตรอนที่กริดน้อยลงเท่าใด กระแสที่ไหลจากแท่ง cathode ก็มีมากเท่านั้น ก็เลยเป็นที่มาของ กราฟคือ ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบมากเท่าใด กระแสกับแรงดันที่เพรตจะมากขึ้นตาม ผมเข้าใจถูกใหมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 11:24:04 AM
[huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ

อ้างถึง
Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v

ถ้าดูตามรูป จะเห็นว่ามันไม่ตัดกับเส้น grid voltage เลย ดังนั้นเราต้องจินตนาการนิดหน่อยว่าเส้น grid ที่ขนานกับ -2V ที่บริเวณที่เส้น plate voltage (สีแดงแนวตั้ง) 150V ตัดกับเส้น plate current (สีแดงแนวนอน) อยู่ตรงไหน ลองวาดดูก็ได้ครับ

จากในรูป ผมประมาณเอาว่าน่าจะเป็นซัก -1.5V เพราะถ้ามันเป็น -1V มันควรจะอยู่ตรงกลางระหว่าง 0 กับ -2 แต่ทีเห็นมันเยื้องมาทางขวาหน่อย เลยน่าจะเป็น -1.5V ครับ


ขอบคุณครับอาจารย์   [0002053E] [0002053E]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 11:29:55 AM
  หลอดบางเบอร์ก็ทำงานที่ V grid เป็นบวกนะครับ  หรือหลอดบางเบอร์ ขณะที่กริดเป็นบวกก็ยังสามารถที่จะนำกระแสได้อยู่
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 01:57:39 PM
ตามความเข้าใจของผม เมื่ออิเล็กตรอนลบที่ขากริดเพิ่มขึ้นทำให้กระแสอิเล็กตรอนจากแท่ง cathode ที่เป็นลบเหมื่อนกันกระโดดมาหาอิเล็กตรอนที่เป้นบวกตรงแผ่นเพรทไม่ได้เพราะ เมื่ออิเล็กตรอนลบจาก cathode มาเจอกับ อิเล็กตรอนลบที่แผ่นกริดทำให้เกิดการผลักกันขึ้นเลยทำให้หลอดไม่นำกระแส

ถูกต้องครับ

แต่ในทางกลับกัน ถ้าอิเล็กตรอนที่แผ่นกริดลดลงซึ่งก็คือ ไฟบวก จึงทำให้อิเล็กตรอนจากแท่ง cathode วิ่งหาเพรทได้จึงเกิดการนำกระแส ยิ่งอิเล็กตรอนที่กริดน้อยลงเท่าใด กระแสที่ไหลจากแท่ง cathode ก็มีมากเท่านั้น ก็เลยเป็นที่มาของ กราฟคือ ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบมากเท่าใด กระแสกับแรงดันที่เพรตจะมากขึ้นตาม ผมเข้าใจถูกใหมครับ

เข้าใจถูกครับ แต่สรุปผิดเล็กน้อย ต้องเป็น ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบน้อยลงเท่าใด กระแสที่เพรตจะมากขึ้นตาม ในขณะที่แรงดันเพลตยังเท่าเดิมครับ

ตอนนี้ยังไม่มีการต่อ load กับหลอดนะครับ ผมอธิบายตามวีดิโอที่เราป้อนไฟ B+ กับ plate และ bias voltage กับ grid
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 05:18:17 PM
ก่อนจะไปต่อเรื่อง load line และการ bias หลอด มีการบ้านพื้นฐานการคำนวนทางไฟฟ้าง่ายๆให้ลองทำก่อนครับ ใครที่รู้แล้วขออย่าเพิ่ง post คำตอบนะครับ อยากให้คนไม่เคยทำ หรือคนที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า เป็นผู้ post คำตอบก่อนครับ

สูตรคำนวนทางไฟฟ้ามีสองสูตรดังนี้

R = V/I
R = ความต้านทาน (resistance), หน่วยเป็น ohm
V = แรงดัน (voltage), หน่วยเป็น volt
I = กระแส (current), หน่วยเป็น amp

P = IV
P = กำลังหรือพลังงาน (power) มีหน่วยเป็น Watt

จากรูปข้างล่าง
ข้อ 1 ให้หาค่า I, I1, I2, P1 และ P2
ข้อ 2 ให้หาค่า V และพลังงานความร้อนที่ R 12Kohm คายออกมาเมื่อมีกระแสผ่านวงจร

(https://www.dropbox.com/s/a3jdwtwljudmqcb/Exercise%201.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 05:20:22 PM
ก่อนจะไปต่อเรื่อง load line และการ bias หลอด มีการบ้านพื้นฐานการคำนวนทางไฟฟ้าง่ายๆให้ลองทำก่อนครับ ใครที่รู้แล้วขออย่าเพิ่ง post คำตอบนะครับ อยากให้คนไม่เคยทำ หรือคนที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า เป็นผู้ post คำตอบก่อนครับ

สูตรคำนวนทางไฟฟ้ามีสองสูตรดังนี้

R = V/I
R = ความต้านทาน (resistance), หน่วยเป็น ohm
V = แรงดัน (voltage), หน่วยเป็น volt
I = กระแส (current), หน่วยเป็น amp

P = IV
P = กำลังหรือพลังงาน (power) มีหน่วยเป็น Watt

จากรูปข้างล่าง
ข้อ 1 ให้หาค่า I, I1, I2, P1 และ P2
ข้อ 2 ให้หาค่า V และพลังงานความร้อนที่ R 12Kohm คายออกมาเมื่อมีกระแสผ่านวงจร

(https://www.dropbox.com/s/a3jdwtwljudmqcb/Exercise%201.jpg?raw=1)

รับทราบครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:14:27 PM
 เด็ก นิติ  เศรษฐศาสตร์ บัญชี  มึนตรึบล่ะทีนี้  [frightened-12]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: momo ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 06:30:11 PM
ขออนุญาติเสริมครับ
ถ้าจะคำนวนให้ได้คงต้องรู้สูตรการคิดค่า R รวมด้วยครับอาจารย์
 Rต่อแบบอนุกรม            Rรวม = R1+R2+R...
 Rต่อแบบขนาน          1/Rรวม = 1/R1 +1/R2+ 1/R.....  [wink-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:14:23 PM
ขอลองตอบนะครับ


I1,P1
R=V/I.    7000=350/I. (I=0.05a)
P=IV.      0.05*350 =17.50w

I2,P2
R=V/I.     12000=350/I (I=0.0297a)
P=IV.       0.0297*350 =10.40W


น่าจะผิดแน่นอน.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:38:24 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 07:39:27 PM
 แรงดันผ่าน R 5K แล้ว แรงดัน ยังเหลือลงมาถึง R  7K , 12K    350v อยู่อีกหรือ ลุง paas
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:06:42 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ทำข้อนี้แล้วย้อนกลับไปทำข้อหนึ่งอีกรอบครับ  [chick4] เพียงแต่ R ตัวล่างถูกแยกร่างออกไป
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:20:37 PM
แรงดันผ่าน R 5K แล้ว แรงดัน ยังเหลือลงมาถึง R  7K , 12K    350v อยู่อีกหรือ ลุง paas


 [embarrassed] [embarrassed].
ดำน้ำมาครับ.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:21:34 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ทำข้อนี้แล้วย้อนกลับไปทำข้อหนึ่งอีกรอบครับ  [chick4] เพียงแต่ R ตัวล่างถูกแยกร่างออกไป

หมายถึง. หา V. ที่ผ่าน. R 5. K ก่อนใช้มั้ยครับ
มึนแล้วครับน้ารุ่ง. [frightened-11] [frightened-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:28:11 PM
แรงดันผ่าน R 5K แล้ว แรงดัน ยังเหลือลงมาถึง R  7K , 12K    350v อยู่อีกหรือ ลุง paas


 [embarrassed] [embarrassed].
ดำน้ำมาครับ.
นึกถึงตอนที่เราป้อนแรงดัน (B+) ผ่าน R plate  เหลือแรงดันที่มาถึงเพลทเท่าไหร่ แรงดันที่หายไปคือแรงดันที่ตกคร่อม R ตัวนั้นนั่นแหละครับ

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:42:20 PM
แรงดันผ่าน R 5K แล้ว แรงดัน ยังเหลือลงมาถึง R  7K , 12K    350v อยู่อีกหรือ ลุง paas


 [embarrassed] [embarrassed].
ดำน้ำมาครับ.
นึกถึงตอนที่เราป้อนแรงดัน (B+) ผ่าน R plate  เหลือแรงดันที่มาถึงเพลทเท่าไหร่ แรงดันที่หายไปคือแรงดันที่ตกคร่อม R ตัวนั้นนั่นแหละครับ



ขอบคุณครับน้าเล็ก
เริ่มจะพอเข้าใจบ้างเล็กน้อยแล้วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: saichon ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:48:41 PM
เข้ามาร่วมวงด้วยคนครับ  [chick-milk-bottle]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:50:48 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ทำข้อนี้แล้วย้อนกลับไปทำข้อหนึ่งอีกรอบครับ  [chick4] เพียงแต่ R ตัวล่างถูกแยกร่างออกไป

หมายถึง. หา V. ที่ผ่าน. R 5. K ก่อนใช้มั้ยครับ
มึนแล้วครับน้ารุ่ง. [frightened-11] [frightened-11]

ต้องหา R รวมก่อนครับ เราถึงจะรู้ I และหา V ที่ตกคร่อม 5K  เช่นในข้อ2 V ที่ตกคร่อม 12K และ 15K จะเท่ากับ V1  นั่นคือ V=RI
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:50:56 PM
แรงดันผ่าน R 5K แล้ว แรงดัน ยังเหลือลงมาถึง R  7K , 12K    350v อยู่อีกหรือ ลุง paas


 [embarrassed] [embarrassed].
ดำน้ำมาครับ.
นึกถึงตอนที่เราป้อนแรงดัน (B+) ผ่าน R plate  เหลือแรงดันที่มาถึงเพลทเท่าไหร่ แรงดันที่หายไปคือแรงดันที่ตกคร่อม R ตัวนั้นนั่นแหละครับ
              คิดแบบง่ายๆเลยครับ เห็นขนาน ก็จับมาขนาด เห็นอนุกรมก็จับมาอนุกรมกันก่อน หากระแสรวมของวงจรให้ได้ก่อน ด้วยกฏของ ohm's law อย่างเดียว เดี๋ยวคำตอบจะค่อยๆไหลมาเป็น step เอง


ขอบคุณครับน้าเล็ก
เริ่มจะพอเข้าใจบ้างเล็กน้อยแล้วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:51:49 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ข้อนี้ถูกต้องแล้วครับ  [huge-thumbs-up]
แต่สูตรผิดนิดหน่อยตรงที่เป็นสีแดงครับ ต้องเป็น V=R * I

สองข้อนี้ขอไม่แนะนำอะไรนะครับ เป็นสูตรพื้นฐานมากๆ ลองหาดูวิธีการใน Internet ได้ไม่ยาก และผมอยากให้ดูวงจรเป็นด้วย เพราะสำคัญมากๆเวลาออกแบบเองและต้องแก้ไขปัญหาเองได้เวลาทดลองวงจร อีกอย่างนึงคืออยากให้เพื่อนๆช่วยกันคิดครับ จะเอาโจทย์มาเขียนรูปการคำนวนเพิ่มเติมให้ดูกันได้ยิ่งดีเลย
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 08:57:23 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ทำข้อนี้แล้วย้อนกลับไปทำข้อหนึ่งอีกรอบครับ  [chick4] เพียงแต่ R ตัวล่างถูกแยกร่างออกไป

หมายถึง. หา V. ที่ผ่าน. R 5. K ก่อนใช้มั้ยครับ
มึนแล้วครับน้ารุ่ง. [frightened-11] [frightened-11]

ต้องหา R รวมก่อนครับ เราถึงจะรู้ I และหา V ที่ตกคร่อม 5K  เช่นในข้อ2 V ที่ตกคร่อม 12K และ 15K จะเท่ากับ V1  นั่นคือ V=RI


ขอบคุณครับน้ารุ่ง [0002053E] [0002053E]  [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 09:00:13 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ข้อนี้ถูกต้องแล้วครับ  [huge-thumbs-up]
แต่สูตรผิดนิดหน่อยตรงที่เป็นสีแดงครับ ต้องเป็น V=R * I

สองข้อนี้ขอไม่แนะนำอะไรนะครับ เป็นสูตรพื้นฐานมากๆ ลองหาดูวิธีการใน Internet ได้ไม่ยาก และผมอยากให้ดูวงจรเป็นด้วย เพราะสำคัญมากๆเวลาออกแบบเองและต้องแก้ไขปัญหาเองได้เวลาทดลองวงจร อีกอย่างนึงคืออยากให้เพื่อนๆช่วยกันคิดครับ จะเอาโจทย์มาเขียนรูปการคำนวนเพิ่มเติมให้ดูกันได้ยิ่งดีเลย


ขอบคุณครับอาจารย์ [0002053E] [0002053E] [0002053E]
ก่อนหน้านี้ อ่านอย่างเดียวเลยไม่เข้าใจ พอได้ลงมือคำนวณ แล้วเริ่มจะเข้าใจแล้ว
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 09:21:06 PM
ตอบ ข้อ 2
ตามสูตรค่า R ที่น้าmomo แนะนำ
R=R1+R2. (12,000+15,000=27,000)
I=0.05
สูตร R=V/I
หาค่า V=R*V. 27,000*0.05= 1,350 v


น่าจะผิดอีกแหละ

ข้อนี้ถูกต้องแล้วครับ  [huge-thumbs-up]
แต่สูตรผิดนิดหน่อยตรงที่เป็นสีแดงครับ ต้องเป็น V=R * I

สองข้อนี้ขอไม่แนะนำอะไรนะครับ เป็นสูตรพื้นฐานมากๆ ลองหาดูวิธีการใน Internet ได้ไม่ยาก และผมอยากให้ดูวงจรเป็นด้วย เพราะสำคัญมากๆเวลาออกแบบเองและต้องแก้ไขปัญหาเองได้เวลาทดลองวงจร อีกอย่างนึงคืออยากให้เพื่อนๆช่วยกันคิดครับ จะเอาโจทย์มาเขียนรูปการคำนวนเพิ่มเติมให้ดูกันได้ยิ่งดีเลย


ขอบคุณครับอาจารย์ [0002053E] [0002053E] [0002053E]
ก่อนหน้านี้ อ่านอย่างเดียวเลยไม่เข้าใจ พอได้ลงมือคำนวณ แล้วเริ่มจะเข้าใจแล้ว
  ข้อสองน้ายังตอบไม่หมดเลยครับ ยังเหลืออีกคำตอบนึงนะ  พลังงานความร้อนที่ R 12Kohm คายออกมาเมื่อมีกระแสผ่านวงจร
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:14:44 PM
ขอลองตอบครับน้า โจทย์สั้นแต่ตอบยาวไม่รู้ผมคิดลึกไปหรือเปล่าครับ [embarrassed]
ข้อ 1 รูปนี้หา I ครับน้า
(https://www.uppic.org/image-4BDA_591DBBAC.jpg)

ข้อ 1 รูปนี้หา I1 I2 P1 P2 ครับ
(https://www.uppic.org/image-CE5A_591DBBAC.jpg)

ข้อ 2 ครับ
(https://www.uppic.org/image-4319_591DBBAC.jpg)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:22:53 PM
ติดงานมาเปิดอีกทีน้าเตรียมแย่งตอบไปหมดล่ะ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:42:24 PM
คุณ atriam ตอบถูกทั้งสองข้อเลยครับ  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]

ใครมีข้อสงสัยอะไรถามได้เลยนะครับ วันพรุ่งนี้ไม่ติดอะไรจะเริ่มเรื่องการออกแบบและคำนวนวงจรหลอดครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:50:38 PM
คุณ atriam ตอบถูกทั้งสองข้อเลยครับ  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]

ใครมีข้อสงสัยอะไรถามได้เลยนะครับ วันพรุ่งนี้ไม่ติดอะไรจะเริ่มเรื่องการออกแบบและคำนวนวงจรหลอดครับ

เอาจริงๆโจทย์ของอาจารย์นี้ลึกในความที่ต้องเข้าใจพื้นฐานเลยครับ ผมพอเคยเรียนพวกไฟฟ้ามาบ้างครับแต่ไม่ใช่สายตรง ถ้าไม่มีพื้นถือว่ายากมากๆครับ [frightened-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 18 พฤษภาคม 2017, 10:54:21 PM
 เพิ่งเข้ามาดูครับ การบ้าน2ข้อนี้ มีเฉลยแล้ว ขอลอกจาก ด.ช. atriam ครับ [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 02:41:48 AM
คุณ atriam ตอบถูกทั้งสองข้อเลยครับ  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]

ใครมีข้อสงสัยอะไรถามได้เลยนะครับ วันพรุ่งนี้ไม่ติดอะไรจะเริ่มเรื่องการออกแบบและคำนวนวงจรหลอดครับ

เอาจริงๆโจทย์ของอาจารย์นี้ลึกในความที่ต้องเข้าใจพื้นฐานเลยครับ ผมพอเคยเรียนพวกไฟฟ้ามาบ้างครับแต่ไม่ใช่สายตรง ถ้าไม่มีพื้นถือว่ายากมากๆครับ [frightened-11]

น้าAtriam  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 09:00:33 AM
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] ขอลอกด้วยคนครับ น้า Atriam
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 10:59:37 AM
บอกตรงๆครับ จากโจทร์ ผมตอบไม่ถูกครับ แต่พยายามทำความเข้าใจครับ ตามดูตามอ่านจากน้าๆที่เข้าใจแล้วมาตอบ ขอบคุณครับ [fb-smiling] [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 11:14:03 AM
บอกตรงๆครับ จากโจทร์ ผมตอบไม่ถูกครับ แต่พยายามทำความเข้าใจครับ ตามดูตามอ่านจากน้าๆที่เข้าใจแล้วมาตอบ ขอบคุณครับ [fb-smiling] [huge-thumbs-up]
  ตรงไหน ไม่รู้ไม่เข้าใจ ต้องทำความเข้าใจจนรู้ครับ  ลอกการบ้านเราจะไม่ได้อะไรเลยนะ อยากเป็นแค่ได้ทำ  หรือ ทำได้ล่ะ เพราะนี่เป็นแค่เพียงแค่พื้นฐานสำหรับการก้าวต่อไปครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 11:20:50 AM
บอกตรงๆครับ จากโจทร์ ผมตอบไม่ถูกครับ แต่พยายามทำความเข้าใจครับ ตามดูตามอ่านจากน้าๆที่เข้าใจแล้วมาตอบ ขอบคุณครับ [fb-smiling] [huge-thumbs-up]
  ตรงไหน ไม่รู้ไม่เข้าใจ ต้องทำความเข้าใจจนรู้ครับ  ลอกการบ้านเราจะไม่ได้อะไรเลยนะ อยากเป็นแค่ได้ทำ  หรือ ทำได้ล่ะ เพราะนี่เป็นแค่เพียงแค่พื้นฐานสำหรับการก้าวต่อไปครับ

การลอกตามเป็นเพียงขั้นเริ่มต้นครับ ระดับต่อไปต้องเป็นขั้นของการศึกษาการทำงานของอุปกรณ์นั้น ๆ เพื่อที่จะนำไปออกแบบวงจรได้ครับ
มันจะเริ่มสนุกที่ขั้นศึกษาและออกแบบวงจรเองแหละครับ [fb-smiling]

ผมงมอยู่ในขั้นแรกก็หลายปีเลยครับเพราะไม่เข้าใจการทำงานของวงจร แต่พอจะเข้าใจเรื่องโหลดไลน์นี่ติดเรื่องหลอดแบบโงหัวไม่ขึ้นเลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 11:26:14 AM
  ดึงไว้นิดครับ Aj. Karin อย่าเพิ่งไป จากที่ผมตรวจสอบดู หลายคนยังมีนๆ งงๆ กันอยู่ ขอเวลาผมจูนซักวัน สองวันก่อน เดี๋ยวค่อยไปต่อครับ โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่ทำแอมป์โพสหลักๆอยู่บนเว็บ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 11:31:12 AM
ผมสังเกตจากที่น้าเตียมคำนวณค่ากำลังวัตต์ของตัวต้านทาน ตามสูตร
W=V*I  จะได้ค่าทนกำลังที่ถูกต้องครับ แต่ในแง่ของการใช้งานจริง ผมมักจะเผื่อกำลังวัตต์เพิ่มอย่างน้อย 3 เท่าจากค่าทนกำลังวัตต์ที่ได้
เพราะในการใช้งานจะต้องมีการสูญเสียพลังงานในรูปแบบของความร้อนเพิ่ม และถ้าตัวต้านทานร้อนมาก ๆ จะทำให้ค่าความต้านทานเปลี่ยนไปด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 11:34:14 AM
ขยายความเพิ่มให้เห็นได้ชัด เช่น

(https://www.uppic.org/image-CE5A_591DBBAC.jpg)

P1= 3.894 W  ผมก็จะใช้ค่าทนกำลังเป็น 12W ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: JaMajam ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 12:01:21 PM
 [chick-cry]นึกถึงสมัยเรียนเลยครับ ม.4เทอมแรก วิชาหลักการไฟฟ้าเบื้องต้น (ถ้าจำไม่ผิด) ได้ทบทวนดีครับ...
ต้องให้เข้าใจจริงๆ..สงสัยถาม (อย่าอายครับ)ผมตอบแทน [chick7]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 12:36:16 PM
งั้นเดี๋ยวเย็นๆจะให้หลักการคำนวนซักสองสามอย่างไว้ แล้วใครที่อยากจะทำแบบฝึกหัดให้ลงชื่อ จากนั้รจะให้แบบฝึกหัดของใครของมันไว้เลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 12:40:19 PM
   ดีครับ Aj. Karin เดี๋ยวผมขอปรับฐานให้กับเพื่อนๆที่ยังตามคนอื่นไม่ทันก่อนเดี๋ยวจะได้ไปพร้อมๆกัน เพราะบางคนก็ผ่านการทำเครื่องมากันคนละหลายเครื่องแล้วยังไม่ค่อยจะรู้อะไรกันเลย  จะได้พอที่จะไปต่อกันได้เองละคราวนี้
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 12:56:58 PM
ลงชื่อรับครับ.. [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 12:59:41 PM
 [fb-smiling]รับครับผม
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 01:18:28 PM
ลงทะเบียนเรียนด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 01:25:03 PM
ขอรับครับอาจารย์ [pig90118]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: JaMajam ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 02:27:29 PM
 [chick7]/เผื่อจะมีประโยชน์ครับ lสัดส่วนเปรียบเทียบ [chick-flying]
หน่วยของแรงดันไฟฟ้า
1 มิลลิโวลท์  (mV)    =    1,000 ไมโครโวลท์ (µV)
1 โวลท์  (V)             =    1,000 มิลลิโวลท์ (mV)
1 กิโลโวลท์  (KV)    =    1,000 โวลท์ (V)
1 เมกกะโวลท์  (MV)    =    1,000 ,000 โวลท์ (V)

หน่วยของกระแสไฟฟ้า
    1 มิลลิแอมป์  (mA)    =    1,000  ไมโครแอมป์ (µV)
    1  แอมป์    (A)        =    1,000   มิลลิแอมป์ (mA)
    1 กิโลแอมป์ (KA)    =    1,000  แอมป์    (A)
    1  เมกกะแอมป์ (MA)    =    1,000,000   แอมป์ (A)

หน่วยของความต้านทานไฟฟ้า
    1 กิโลโอห์ม(KΩ)    =    1,000  โอห์ม (Ω)
    1000 กิโลโอห์ม(KΩ)    =    1 เมกกะโอห์ม (MΩ)
    1 เมกกะโอห์ม ( MΩ)    =    1,000,000 โอห์ม (Ω)

หน่วยของกำลังไฟฟ้า
    1 มิลลิวัตต์ (mW)    =    1,000  ไมโครวัตต์ (µW)
    1 วัตต์    (W)        =    1,000  มิลลิวัตต์ (mW)
    1 กิโลวัตต์  (KW)    =    1,000   วัตต์ (W)
    1  เมกกะวัตต์ (MW)    =    1,000,000 วัตต์  (W) [YL76]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 02:34:04 PM
[chick7]/เผื่อจะมีประโยชน์ครับ lสัดส่วนเปรียบเทียบ [chick-flying]
หน่วยของแรงดันไฟฟ้า
1 มิลลิโวลท์  (mV)    =    1,000 ไมโครโวลท์ (µV)
1 โวลท์  (V)             =    1,000 มิลลิโวลท์ (mV)
1 กิโลโวลท์  (KV)    =    1,000 โวลท์ (V)
1 เมกกะโวลท์  (MV)    =    1,000 ,000 โวลท์ (V)

หน่วยของกระแสไฟฟ้า
    1 มิลลิแอมป์  (mA)    =    1,000  ไมโครแอมป์ (µV)
    1  แอมป์    (A)        =    1,000   มิลลิแอมป์ (mA)
    1 กิโลแอมป์ (KA)    =    1,000  แอมป์    (A)
    1  เมกกะแอมป์ (MA)    =    1,000,000   แอมป์ (A)

หน่วยของความต้านทานไฟฟ้า
    1 กิโลโอห์ม(KΩ)    =    1,000  โอห์ม (Ω)
    1000 กิโลโอห์ม(KΩ)    =    1 เมกกะโอห์ม (MΩ)
    1 เมกกะโอห์ม ( MΩ)    =    1,000,000 โอห์ม (Ω)

หน่วยของกำลังไฟฟ้า
    1 มิลลิวัตต์ (mW)    =    1,000  ไมโครวัตต์ (µW)
    1 วัตต์    (W)        =    1,000  มิลลิวัตต์ (mW)
    1 กิโลวัตต์  (KW)    =    1,000   วัตต์ (W)
    1  เมกกะวัตต์ (MW)    =    1,000,000 วัตต์  (W) [YL76]


ขอบคุณครับ มีประโยชน์ สำหรับผมมากครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 03:00:40 PM
มาลงชื่อด้วยรับแบบฝึกหัดด้วยคนครับอาจารย์  [chick4]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: saichon ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 03:58:35 PM
ลงชื่อด้วยคนครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 06:05:47 PM
มาขอรับการบ้านด้วยครับอาจารย์  [enjoyment]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: sw067362 ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 08:46:00 PM
เพิ่งมีเวลาตามอ่านกระทู้ ขอลงชื่อรับการบ้านด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 09:08:33 PM
วันนี้ยุ่งทั้งวัน เลยยังไม่ได้ทำข้อสอบกับแนวทางเลยครับ ขอเป็นพรุ่งนี้ละกัน ตอนนี้คนที่ต้องการทำแบบฝึกหัดมีดังนี้ครับ

chiko
kakmax
paas
atriam
akradech
saichon
johnney_chivas
sw067362
BioTM
poowasu
emotion13956

ขอเท่านี้ก่อนนะครับ เดี๋ยวพรุ่งนี้จะทยอยลงให้ครับ
** แก้ไขชื่อตามที่คุณเล็กบอกมาครับ  [fb-smiling]
** update รายชื่ออีกทีนึง วันเสาร์นี้ยังยุ่งอยู่เลยครับ พรุ่งนี้น่าจะว่างทำให้ครับ
** ผมเรียงให้ตามคิวนะครับ ข้อหลังๆจะทำให้ยากขึ้นเรื่อยๆนะครับ  [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 19 พฤษภาคม 2017, 09:15:41 PM
chiko สองชื่อ ตกชื่อ atriam ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: BioTM ที่ 20 พฤษภาคม 2017, 08:41:18 AM
วันนี้ยุ่งทั้งวัน เลยยังไม่ได้ทำข้อสอบกับแนวทางเลยครับ ขอเป็นพรุ่งนี้ละกัน ตอนนี้คนที่ต้องการทำแบบฝึกหัดมีดังนี้ครับ

chiko
kakmax
paas
atriam
akradech
saichon
johnney_chivas
sw067362

ขอเท่านี้ก่อนนะครับ เดี๋ยวพรุ่งนี้จะทยอยลงให้ครับ
** แก้ไขชื่อตามที่คุณเล็กบอกมาครับ  [fb-smiling]

ขอเกาะไปด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: poowasu ที่ 20 พฤษภาคม 2017, 09:59:08 AM
มาช้าไปหน่อย ทันมั้ยคับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: emotion13956 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 05:43:37 PM
 [sport-dance-raccoon] [sport-dance-raccoon] [sport-dance-raccoon]
มาลงทะเบียนเรียนครับ
ทันมั้ย
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 05:58:53 PM
พื้นฐานแรกเลยคือการวัด voltage ครับ
จากรูปที่ 1 ถ้าเราพูดถึง VA เราจะหมายถึง voltage ระหว่างจุด A เทียบกับ ground และ VB หมายถึง voltage จุด B เทียบกับ ground หรือ VC ก็่เช่นเดียวกัน
แต่ถ้าเราพูดถึง  VAฺฺB เราจะหมายถึงจุด A เทียบกับจุด B ซึ่งก็คือ
VAB = VA -VB
(https://www.dropbox.com/s/pr0s7ai3c0uplaf/Basic%201.jpg?raw=1)

รูปที่ 2 บอกว่ากระแสนั้นสามารถไหลแยกกันได้ โดยมากหรือนน้อยนั้นขึ้นอยู่กับค่าความด้านทานที่มีแรงดันตกคร่อมอยู่ จากรูปบอกว่า
I1 = I2+I3= I4+I5+I6
จากรูปจะเห็นว่า Voltage คร่อม R2 และ R3 เท่ากัน แต่กระแส I2 จำคำนวนได้จาก Voltage ที่ตกคร่อม R2 และ R3 หารด้วย R2
(https://www.dropbox.com/s/a1yaelywnke4044/Basic%202.jpg?raw=1)

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 06:00:05 PM
ข้อนี้ให้คุณ Chiko ทำครับ
(https://www.dropbox.com/s/soctsput57up3rp/Chiko.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 06:07:41 PM
ข้อนี้ให้คุณ Chiko ทำครับ
(https://www.dropbox.com/s/soctsput57up3rp/Chiko.jpg?raw=1)
รับทราบครับ อ.จ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 08:32:37 PM
มาสายครับอาจารย์..ยืนขาเดียวดูเพื่อนครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 09:06:58 PM
มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 09:25:45 PM
  น้า Chiko มึนเก็กฮวยไปแล้วมั้ง คนอื่นก็ลองคิดตามไปด้วยนะครับ ฝึกไว้เดี๋ยวถึงคิวตัวเองจะได้ลื่น

มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
ดูไปด้วยกดเครื่องคิดเลขไปด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: emotion13956 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 09:35:52 PM
 [fantazy-raccoon] [fantazy-raccoon] [fantazy-raccoon]
หุหุ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 10:17:54 PM
  น้า Chiko มึนเก็กฮวยไปแล้วมั้ง คนอื่นก็ลองคิดตามไปด้วยนะครับ ฝึกไว้เดี๋ยวถึงคิวตัวเองจะได้ลื่น

มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
ดูไปด้วยกดเครื่องคิดเลขไปด้วยครับ
กำลังหาข้อมูลครับ..
ถามนิดนึงครับ จากโจทร์ การต่อ R แบบนี้ เรียกว่า แบบอนุกรม ใช่มั้ยครับ..
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: emotion13956 ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 10:21:16 PM
  น้า Chiko มึนเก็กฮวยไปแล้วมั้ง คนอื่นก็ลองคิดตามไปด้วยนะครับ ฝึกไว้เดี๋ยวถึงคิวตัวเองจะได้ลื่น

มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
ดูไปด้วยกดเครื่องคิดเลขไปด้วยครับ
กำลังหาข้อมูลครับ..
ถามนิดนึงครับ จากโจทร์ การต่อ R แบบนี้ เรียกว่า แบบอนุกรม ใช่มั้ยครับ..
น่าจะมี 2 แบบนะน้า chiko
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 10:48:37 PM
มารอชมว่าที่คิดไว้ถูกรึเปล่าครับ [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 10:58:03 PM
  น้า Chiko มึนเก็กฮวยไปแล้วมั้ง คนอื่นก็ลองคิดตามไปด้วยนะครับ ฝึกไว้เดี๋ยวถึงคิวตัวเองจะได้ลื่น

มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
ดูไปด้วยกดเครื่องคิดเลขไปด้วยครับ
กำลังหาข้อมูลครับ..
ถามนิดนึงครับ จากโจทร์ การต่อ R แบบนี้ เรียกว่า แบบอนุกรม ใช่มั้ยครับ..
ตายละ น้า จิ๊กโก๋ เรา เป็นแบบผสมครับ  สูตร 124
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 21 พฤษภาคม 2017, 11:07:41 PM
  น้า Chiko มึนเก็กฮวยไปแล้วมั้ง คนอื่นก็ลองคิดตามไปด้วยนะครับ ฝึกไว้เดี๋ยวถึงคิวตัวเองจะได้ลื่น

มาครับ.

ขอลุ้น Liverpool.  นิดนึงครับ
ดูไปด้วยกดเครื่องคิดเลขไปด้วยครับ
กำลังหาข้อมูลครับ..
ถามนิดนึงครับ จากโจทร์ การต่อ R แบบนี้ เรียกว่า แบบอนุกรม ใช่มั้ยครับ..
ตายละ น้า จิ๊กโก๋ เรา เป็นแบบผสมครับ  สูตร 124

อร่อยเลยครับ ถ้าเป็นค๊อกเทลจะให้ชื่อว่าอะไรดีครับน้าเล็ก [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 01:29:05 AM
ข้อนี้ให้คุณ Chiko ทำครับ
(https://www.dropbox.com/s/soctsput57up3rp/Chiko.jpg?raw=1)
โจทร์ข้อที่1 Vab=?
Rt= r1+r2+r3+r4+r5
Rt= 250+60+300+780+400
Rt= 1790 Ohm
หากระแสรวมทั้งวงจร  It=V/Rt
It=55/1790 ohm
It= 0.0307262657 A
เนื่องจากต้องการทราบ V จุดAและฺB จำเป็นต้องหา V หลังR1
V=It*R1
V=0.0307262657*250 ohm
V=7.681566 v
Vin= 55 v-7.681566(คล่อมR1)
คงเหลือvหลังผ่านR1= 47.318434 V เนื่องจากต้องการทราบค่า Vab จึงต้องหากระแสของแต่ละสายทั้งA-Bแยกกัน
ต้องการหา ค่า Va ที่ระหว่าง R2-R4
I1= V/(R2+R4)
I1= 47.318434/(60+780)
I1= 0.05633 A
หาvตกคล่อมที่R2และR4
Vr2=0.05633*60= 3.3798 V (VA)
Vr4=0.05633*780 = 43.9374 V หา Pd ที่r4 =(0.05633)ยกกำลัง2*780 ได้= 131.8122 W
ต้องการหาค่า Vb ที่ระหว่าง R3-R5
I2=V/(R3+R5)
I2=47.318434/(300+400)
I2=0.06759 A
หาvตกคล่อมที่R3และR5
Vr3=0.06759*300= 20.277 V (VB)
Vr5=0.06759*400= 27.036 V หา Pd ที่R5 = (0.06759)ยกกำลัง2*400 ได้ = 81.108 W
.....โจทร์ข้อที่1 Vab=?
Vab= Va(r2)-Vb(r3)
Vab= 3.3798-20.277
คำตอบคือ   Vab=(-16.8972 v)
.....โจทร์ข้อที่2  R4-R5 ตัวไหนร้อนกว่ากัน
คำตอบคือ R4 ร้อนกว่าครับเพราะคิด ค่าPdได้= 131.8122 W
โจทร์ข้อนี้ผมขอสอบใหม่นะครับ เพื่อนๆๆที่ทราบแล้วอย่าเฉลยก่อนครับ




หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 02:15:25 AM
  เป๋แต่หัววันเลย น้าจิ๊กโก๋
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 10:47:53 AM
@คุณ Chiko

ก่อนอื่นต้องเอา R2 มารวมกับ R4 ครับ สมมติเป็น R24
แล้วเอา R3 มารวมกับ R5 เป็น R35
จากนั้นเอา R24 กับ R35 มาขนานกันได้เป็น R2345
แล้วค่อยมาบวกกับ R1 ครับ

ได้ค่า R ทั้งหมดก่อน แล้วค่อยหากระแสที่ไหลจากบนลงล่าง

รออยู่นะครับ  [wink-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 11:16:33 AM
Rt = R1 + R2345

R2345 = 1/ (1/(R2+R4) + 1/(R3 + R5)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 12:16:23 PM
ช้าเดี๋ยวผมแย่งตอบก่อนนะครับ.... [wink-12]

11.87
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 01:31:45 PM
น้า Chiko สู้ๆ  [chick4]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 02:22:16 PM
ยากครับอาจารย์
V=55 v
Rt=631.8 โอมห์
It=0.087 a
 แรงดันขนานกันจะเท่ากันใช่เปล่า
Vab=110 v
R5 ร้อนกว่า เพราะความต้านทานรวมน้อยก่วากระแสมามากก่วา W=VI
เดาไปก่อนครับ [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 02:34:19 PM
ยากครับอาจารย์
V=55 v
Rt=631.8 โอมห์
It=0.087 a
 แรงดันขนานกันจะเท่ากันใช่เปล่า
Vab=110 v 
R5 ร้อนกว่า เพราะความต้านทานรวมน้อยก่วากระแสมามากก่วา W=VI
เดาไปก่อนครับ [embarrassed]
  ต้นๆมาดีแล้ว ไปหลงทางตรงไหนครับ น้า   โดยเฉพาะคำตอบ Vab  110v เนี่ยมายังไง แหล่งจ่ายมีแค่ 55v เองครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 03:09:55 PM
ข้อสองของคุณ kakamax ครับ มีสับขาหลอกนิดหน่อย
แต่ใครจะทำก่อนก็ได้นะครับ รอคุณ kakamax post คำตอบก่อน แล้วค่อย post ตามนะครับ  [wink-11]
(https://www.dropbox.com/s/ve7ppkxh0b6nq0b/kakamax.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 03:29:08 PM
 [0002053E]ครับ อาจารย์ ขอเวลาแป๊บ ให้ผมตอบก่อนน่ะ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 03:29:59 PM
 ผสมธรรมดา ก็ขาขวิดล้มกลิ้งกันแล้วครับ Aj. karin  [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 03:54:46 PM
 [shut-up-raccoon]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 04:14:39 PM
ข้อนี้ให้คุณ Chiko ทำครับ
(https://www.dropbox.com/s/soctsput57up3rp/Chiko.jpg?raw=1)
ส่งคำตอบอีกครั้งครับ ยอมรับครับยากที่ต้องอธิบายแต่ละขั้นตอนของการคิดหาค่าต่างๆ
โจทร์คือ หา Vab=? และที่ R4กับR5 ตัวไหนร้อนกว่า!.........
หาค่า Rt จากในวงจร ผมคิดจาก R2,R3,R4,R5 ก่อน เพราะR2,R4 อนุกรมกันแต่ไปขนานกับR3,R5ซึ่งอนุกรมกันด้วย
Rt=R1+R2345
R2345=(R24)+(R35)
R24 = 60+780=840 ohm
R35 = 300+400=700 ohm
เมื่อR24ขนานกับR35

R2345 = 1/R24+R35  ถอดสมการ
                 R24*R35

R2345 = 840*700 = 58800
             840+700     1540

R2345 =  381.81 ohm
Rt = R1+R2345 = 250+381.81 ohm
เพราะฉนั้น Rt = 631.81 ohm
หากระแสรวมของวงจร It = V/R
เมื่อ V=55 Rt =631.81 ohm
It = 55/631.81 =0.08705 A
ถึงตรงนี้ ผมรู้ว่า V=55, Rt=631.81 ohm, It =0.08705 A
โจทร์ต้องการรู้ค่า Vab ที่ Ar2และBr3 จึงต้องหาค่าแรงดันที่ผ่านจาก R1ว่ามีเท่าไร  Vr1 = It*R1
Vr1 = 0.08705*250 =21.76287 v
เอา Vin-vr1 = 55-21.76287 = 33.23712 v (คิอแรงดันคงเหลือหลังผ่านR1)
สมมุติให้ V หลังผ่านR1 เป็น V2 เป็นแรงดันที่จ่ายให้กับ R24 ,R35 ครับ
เพราะฉนั้น V2= 33.23712 v
สมมุติให้ R2,4 เป็น A และ R3,5 เป็น B หากระแส ด้าน Ia,Ib
Ia = V2/R24
Ia = 33.23712/840 = 0.039568 A
Ib = V2/R35
Ib = 33.23712/700 = 0.047481 A
เมื่อได้กระแสทั้ง A,B ต้องหาแรงดันตกคล่อมของR แต่ละตัวทั้ง2ด้าน
หา แรงดันด้าน A ที่ VR2,VR4 เมื่อ Ia= 0.039568 A
Vr2 = Ia*r2 =0.039568*60 = 2.37408 v
Vr4 = Ia*r4 =0.039568*780 Vr4 = 30.86304 v และ Pที่ r4 =( Iยกกำลัง2*R) = (0.039568*0.039568)*780 ohm = 1.22118 W
หา แรงดันด้าน B ที่ Vr3,Vr5 เมื่อ Ib = 0.047482 A
Vr3 = Ib*r3 =0.047481*300 = 14.2443 v
Vr5 = Ib*r5 =0.047481*400 Vr5 = 18.9924 v และ Pที่ r5 =( Iยกกำลัง2*R) = (0.047481*0.047481)*400 ohm = 0.90177 W
สุดท้ายแล้วครับ ...... Vab=? เมื่อกำหนดให้ A เป็นจุดเทียบ B
Vab = Vr4-Vr5
Vab = 30.86304 - 18.9924 = 11.87064 V
 ข้อที่1 Vab = 11.87064 v ครับ
ที่ R4,R5 ตัวไหนร้อนกว่า....ผมพิจารนา ว่า ที่R4 กระแสไหลผ่าน 0.039568 A ที่ 780 ohm แต่ที่ R5 กรแสไหลผ่าน 0.047481ที่ 400 ohm
ผมคิดว่า ที่ R5 น่าจะร้อนกว่าครับ
ขอบคุณครับ ผิดถูกอย่างไร ชี้แนะด้วยครับ [embarrassed]




หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 04:15:56 PM
น้า Chiko สู้ๆ  [chick4]
ขอบคุณครับ  [smiling-tongue]
พิมพ์คำตอบ ตาลายเหม็ดแล้วนิ [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 04:29:14 PM
น้า Chiko สู้ๆ  [chick4]
ขอบคุณครับ  [smiling-tongue]
พิมพ์คำตอบ ตาลายเหม็ดแล้วนิ [yellow-lol]

พิมพ์มาตั้งเยอะข้อสองจับมาใส่สูตรสักหน่อยสิครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 04:36:13 PM
น้า Chiko สู้ๆ  [chick4]
ขอบคุณครับ  [smiling-tongue]
พิมพ์คำตอบ ตาลายเหม็ดแล้วนิ [yellow-lol]

พิมพ์มาตั้งเยอะข้อสองจับมาใส่สูตรสักหน่อยสิครับ
ผมคิดค่ากำลังใว้ด้วยแล้วที่ Vr4,Vr5 ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:05:10 PM
วิธีการคิดและคำตอบคุณ Chiko ถูกต้องแลัวครับ  [chick-clap]
แต่คำถามที่ว่า R ตัวไหนร้อนกว่า คำตอบต้องดูว่าตัวไหนมีพลังงานกระจายออกจากตัวมันมากกว่า ซึ่งในกรณีนี้คือ R4 1.22W เทียบกับ R5 0.9W ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Molecular Man ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:06:55 PM
  [chick7] ตาลายเลย [chick-confuse] ชีวิตจริงมี ERROR ผมว่ากดเครื่องเอาทศนิยมแค่ 2 หรือ 3 ตำแหน่งก็น่าละเอียดจะพอแล้วนะครับ.... [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:16:51 PM
  [chick7] ตาลายเลย [chick-confuse] ชีวิตจริงมี ERROR ผมว่ากดเครื่องเอาทศนิยมแค่ 2 หรือ 3 ตำแหน่งก็น่าละเอียดจะพอแล้วนะครับ.... [yellow-lol]
ผมนี้พิมพ์ ตอนเที่ยง เสร็จ บ่าย2 [chick-confuse] [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:18:10 PM
   อาจารย์ใจดีอีกแล้ว วิธีการคิดถูกต้องครับ แต่คำตอบผิด


 Pr4  = 1.2w dissipation ที่เกิดขึ้นกับ R4 ------ 1

 Pr5  = 0.9w dissipation ที่เกิดขึ้นกับ R5 ------- 2

แต่น้าสรุปว่า  R5  ร้อนกว่า ใช่หรือเปล่า ลองพิจารณาดูดีๆครับ


ที่ R4,R5 ตัวไหนร้อนกว่า....ผมพิจารนา ว่า ที่R4 กระแสไหลผ่าน 0.039568 A ที่ 780 ohm แต่ที่ R5 กรแสไหลผ่าน 0.047481ที่ 400 ohm
ผมคิดว่า ที่ R5 น่าจะร้อนกว่าครับ

  อันนี้ก็ลองพิจารณาดูครับ กระแสเป็นกระแสรวมของฝั่ง A  และ ฝั่ง B

กระแส 0.039568A ไม่ได้ไหลผ่านแค่ R4 นะครับ แต่ไหลผ่าน R2 และ R4

กระแส 0.047481A ไม่ได้ไหลผ่านแค่ R5 นะครับ แต่ไหลผ่าน R3 และ R5

  ดังนั้นจึงควรจะพิจารณาให้ดีๆก่อนที่จะสรุปครับ ความจริงคำตอบมันอยู่ในสิ่งที่น้าได้คำนวณมาแล้วทั้งหมด เพียงแต่น้าตอบแย้งกับผลที่คำนวณมาเท่านั้นครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:21:01 PM
วิธีการคิดและคำตอบคุณ Chiko ถูกต้องแลัวครับ  [chick-clap]
แต่คำถามที่ว่า R ตัวไหนร้อนกว่า คำตอบต้องดูว่าตัวไหนมีพลังงานกระจายออกจากตัวมันมากกว่า ซึ่งในกรณีนี้คือ R4 1.22W เทียบกับ R5 0.9W ครับ

ขอบคุณครับ ที่จริงผมดูที่ Pd ที่คิดไว้ ก้อเห็นว่า R4 ค่าสูงกว่า แต่พอดูกระแส เลยตอบว่า R5 ร้อนกว่าครับ สรุปต้องดูค่า Pd เป็นหลัก [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:31:34 PM
ผ่าน.....!!!
 [calp-raccoon]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:38:38 PM
ต่อไปเป็นคิวของคุณ kakamax ครับ  [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:41:37 PM
ข้อสองของคุณ kakamax ครับ มีสับขาหลอกนิดหน่อย
แต่ใครจะทำก่อนก็ได้นะครับ รอคุณ kakamax post คำตอบก่อน แล้วค่อย post ตามนะครับ  [wink-11]
(https://www.dropbox.com/s/ve7ppkxh0b6nq0b/kakamax.jpg?raw=1)

ผมกำลังมาคิดว่ามันจะเกี่ยวกับ Power Factor มั้ยครับอาจารย์
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:45:38 PM
ผ่าน.....!!!
 [calp-raccoon]

ขอบคุณครับ น้า ข้อ2 ยิ่งยากขึ้นนิ [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 05:51:08 PM
ข้อสองของคุณ kakamax ครับ มีสับขาหลอกนิดหน่อย
แต่ใครจะทำก่อนก็ได้นะครับ รอคุณ kakamax post คำตอบก่อน แล้วค่อย post ตามนะครับ  [wink-11]
(https://www.dropbox.com/s/ve7ppkxh0b6nq0b/kakamax.jpg?raw=1)

ผมกำลังมาคิดว่ามันจะเกี่ยวกับ Power Factor มั้ยครับอาจารย์


อ๋อ....ผมพอจะเข้าใจแล้วครับ VA นั่นคือจุดวัดแรงดันเที่ยบ GND รึเปล่าครับ อาจารย์
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 06:36:02 PM
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: mybestboss ที่ 22 พฤษภาคม 2017, 09:08:18 PM
ลงชื่อเรียนด้วยครับ แต่ส่งการบ้านช้าหน่อย [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:00:38 AM
ลงชื่อเรียนด้วยครับ แต่ส่งการบ้านช้าหน่อย [yellow-lol]
  ทำควบคู่กับของเพื่อนๆไปครับ สัปดาห์หน้าจะเข้าเนื้อหาแล้ว อาจารย์เค้าช่วยปรับพื้นให้ก่อน
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 07:23:17 AM
ต่อไปเป็นคิวของคุณ kakamax ครับ  [huge-thumbs-up]
ผมยังไม่มีเวลาว่างเลยครับ เฝ้าเครื่องที่ทำงาน 2 วันแล่ะยังไม่ได้กลับบ้านเลย เครื่องมีปัญหา ยุ่งมาก
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 08:31:24 AM
มาส่งกำลังใจให้น้า Kakamax เสร็จงานหลวง ค่อยมางานราษฎร์ครับ  [wink-11]

ว่าแต่ โจทย์ เริ่มยากขึ้นแฮะ  [chick-confuse]

การบ้านผม อาจารย์ อย่าให้โจทย์ยาก เล้ย สาธุ  [chick5]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 08:38:49 AM
กระแสที่ไหลผ่าน R 6k

กระแสที่ไหลผ่าน R 3k

V ที่ตกคร่อม R 3k

V ที่จุด Va = ?

Pt = ?
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 10:02:27 AM
งั้นผ่านให้คุณ paas ก่อนก็ได้ครับ รอคุณ paas ตอบก่อน คนที่อื่นๆค่อยลงตาม

ที่ผมให้คนอื่นๆ post คำตอบด้วย เป็นเพราะบางคนอาจคิดต่างกันแต่ได้คำตอบเหมือนกันครับ ซึ่งเป็นเรื่องปกติเพราะการแก้ปัญหาแบบนี้ขึ้นอยู่กับการมองโจทย์ครับ

ต่อไปเป็นคิวของคุณ kakamax ครับ  [huge-thumbs-up]
ผมยังไม่มีเวลาว่างเลยครับ เฝ้าเครื่องที่ทำงาน 2 วันแล่ะยังไม่ได้กลับบ้านเลย เครื่องมีปัญหา ยุ่งมาก
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 11:00:13 AM
กำลังจับต้นชนปลายอยู่ครับ งงนิดๆ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 11:02:38 AM
รับทราบครับอาจารย์  [chick-milk-bottle] [chick-milk-bottle]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 11:26:21 AM
ขออนุญาติเสริมครับ
ถ้าจะคำนวนให้ได้คงต้องรู้สูตรการคิดค่า R รวมด้วยครับอาจารย์
 Rต่อแบบอนุกรม            Rรวม = R1+R2+R...
 Rต่อแบบขนาน          1/Rรวม = 1/R1 +1/R2+ 1/R.....  [wink-11]


ขอบคุณครับน้า momo 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 12:58:38 PM

ลองตอบนะครับ 
ศึกษาจากกระทู้ ที่หลายท่านตอบไป

สมมติว่า  5K=R1 , 4k=R2 , 3K=R3 ,6k=R4

1. หาค่า Va  คือ จุด A เทียบ G

หากระแสก่อน     I=V/R  (  v=40 ) / (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K
                       = 40/2.2 = 18.18 mA
                    V = R*I
                       =2.2 * 18.18 = 39.99   
น่าจะผิดครับ

2.หาค่า power รวม
หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.5K
                              นำผลรวม 5.5K ขนานกับ R4  6k  =1/5.5 +1/6  = 2.869 K 
                     Rt = 2.869 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.869k)         
                         =  40/2.869 = 13.94 mA

Power รวม        P = I*V  = 13.94 * 40 = 557.6 w

น่าจะผิดอีกแหละ 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:02:59 PM
 [crying-watermelon] [crying-watermelon] [crying-watermelon]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:08:30 PM
 ผิดทุกข้อครับ ลองหาเฉพาะผลรวมความต้านทาน ของวงจรอย่างเดียวให้ดูหน่อยครับ  เพราะถ้าตัวแปรตัวใด ตัวหนึ่งผิดก็จะทำให้ผิดทั้งหมดครับ

 Rt = ?
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: sw067362 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:17:54 PM
นัาpass บวกเลขผิด วิธีคำนวณหาRt ถูกแล้ว ตรง R4K R5K มาอนุกรมกับ R3K ต้องเป็น 5.22 ไม่ใช่ 5.55K ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:20:32 PM
นัาpass บวกเลขผิด วิธีคำนวณหาRt ถูกแล้ว ตรง R4K R5K มาอนุกรมกับ R3K ต้องเป็น 5.22 ไม่ใช่ 5.55K ครับ


 [frightened-12] [frightened-12]
ขอบคุณครับน้า.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:25:36 PM
ผิดทุกข้อครับ ลองหาเฉพาะผลรวมความต้านทาน ของวงจรอย่างเดียวให้ดูหน่อยครับ  เพราะถ้าตัวแปรตัวใด ตัวหนึ่งผิดก็จะทำให้ผิดทั้งหมดครับ

 Rt = ?

 [crying-watermelon] [crying-watermelon]
บวกผิดครับ Rt= 2.79k ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: POCOYO ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:52:01 PM
มาขอ sit in เรียนวิชานี้แบบไม่ลงทะเบียนด้วยคนครับ ที่ไม่ลงทะเบียนเพราะเกรงว่าจะทำการบ้านส่งอาจารย์ได้ไม่สม่ำเสมอ

โจทย์ของน้า paas ผมแนะว่าให้หา voltage คร่อม R 3k ให้ได้ก่อน
การจะหา voltage ให้ได้ จะต้องหากระแสไหลผ่าน R 3k ก่อน
เมื่อได้ค่า voltage คร่อม R 3k แล้วก็นำไปหาค่า VA =? (ลองคิดต่อดูครับ)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 01:56:08 PM
ระหว่างที่รอคำตอบจากคุณ paas มีอีกข้อนึงเอาไว้ตรวจสอบความเข้าใจครับ

มีแบตฯ 2 ก้อน ก้อนแรก 30V ก้อนที่สอง 20V ต่อตามรูป ถ้าเอามิเตอร์มาวัดระหว่างจุด A และจุด B ตามรูป มิเตอร์อ่านค่าได้ 20V อยากทราบว่า R ต้องเป็นค่าเท่าไหร่?  [chick4]
ข้อนี้ใครหาคำตอบได้ให้ post เลยครับ  [chick-clap]
(https://www.dropbox.com/s/wfpabwe6h4uixsf/Challenge.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:26:32 PM
มั่วไปก่อนที่ 120 ohm ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: POCOYO ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:30:02 PM
ขอตอบ 20 โอห์ม ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:34:16 PM
มีคนนึงถูกครับ
ทั้งสองคนช่วยบอกวิธีคิดด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:39:59 PM
มีคนนึงถูกครับ
ทั้งสองคนช่วยบอกวิธีคิดด้วยครับ

ขอตอบ 20 โอห์ม ครับ

เชิญน้าก่อนเลยครับ ผมคิดมั่ว ๆ ไม่ได้มีหลักการ น่าจะผิดอ่ะ  [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:52:37 PM
คิดได้ 20 โอมครับน้า [fb-smiling]
(http://upic.me/i/r6/18623447_1906213699666796_5995999543178809497_o.jpg)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: POCOYO ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:55:34 PM
(https://www.dropbox.com/s/wfpabwe6h4uixsf/Challenge.jpg?raw=1)
จากรูป มิเตอร์วัดไฟได้ 20V ที่จุด A B ถ้าดูดีๆ จะเห็นว่ามิเตอร์ไม่ได้วัดเทียบกับกราวด์ แต่วัดเทียบกับแบต 20V ดังนั้นถ้าเราเลื่อนปลายมิเตอร์ที่จุด B มาอยู่ที่กราวด์
มิเตอร์จะอ่านได้  = 20+20 = 40 V
หลังจากนั้นเราก็มาหากระแสที่ไหลผ่าน R 80 โอห์ม
 I=V/R = 40/80 = 0.5 A

R ที่เราไม่ทราบค่าต่ออนุกรมกับ R 80 โอห์ม ดังนั้นกระแสที่ไหลผ่าน R(ไม่ทราบค่า) จะต้องเท่ากันคือ 0.5 A
จากรูป R สองตัวต่ออนุกรมกันและต่ออยู่กับแบตสองก้อนรวมกัน 50 V ดังนั้น voltage คร่อม R(ไม่ทราบค่า) จะเท่ากับ 50 - 40 = 10 V

เราสามารถหา R(ไม่ทราบค่า) ได้
R=V/I = 10/0.5 = 20 โอห์ม
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 02:58:20 PM
สุดยอดครับ  [enjoyment]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 03:04:07 PM
สุดยอดทั้ง2คนเลยครับ..ผมนี้ยังงมอยู่เลย [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 03:10:28 PM
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เดี๋ยวรอคุณ paas ตอบก่อนแล้วน่าจะมีอีก 1-2 ข้อครับ หมดแล้วจะต่อเรื่อง loadline กันเลย
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 03:16:41 PM
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] สุดยอดเลยครับ  [chick-clap]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 05:00:03 PM
[huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เดี๋ยวรอคุณ paas ตอบก่อนแล้วน่าจะมีอีก 1-2 ข้อครับ หมดแล้วจะต่อเรื่อง loadline กันเลย


ผมตอบแล้วครับอาจารย์   แต่เห็นน้าเล็กบอกว่าผิดหมดทั้งข้อ    ผมยังมีนอยู่ครับอาจารย์   [unhappy-face] [unhappy-face]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 05:50:49 PM
  หา Rt ผิด คำตอบมันก็ผิดทั้งหมดแหละครับ  น้าก็รู้ว่ามันผิดแต่ก็ไม่เห็นน้าแก้ไขให้มันถูกเลยครับ  ผมหมายคำตอบที่ถูกต้อง
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 06:54:48 PM
  หา Rt ผิด คำตอบมันก็ผิดทั้งหมดแหละครับ  น้าก็รู้ว่ามันผิดแต่ก็ไม่เห็นน้าแก้ไขให้มันถูกเลยครับ  ผมหมายคำตอบที่ถูกต้อง

เดี๋ยวแก้ไขใหม่ครับน้าเล็ก.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 07:40:45 PM
พรุ่งนี้มีการประยุกต์ใช้สิ่งเหล่านี้กับการออกแบบ power supply ครับ  [chick8]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: mybestboss ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 08:37:11 PM
เคยเรียนแต่ไฟฟ้าตอน ม.ปลาย ตอนนี้  [chick-confuse]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 23 พฤษภาคม 2017, 11:35:28 PM
พรุ่งนี้มีการประยุกต์ใช้สิ่งเหล่านี้กับการออกแบบ power supply ครับ  [chick8]

มารอเรียน Lesson 2 ครับ  [chick8]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Warm ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 08:05:17 AM
เผลอแป๊บเดียว 6 หน้า
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: JaMajam ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 10:30:43 AM
  หา Rt ผิด คำตอบมันก็ผิดทั้งหมดแหละครับ  น้าก็รู้ว่ามันผิดแต่ก็ไม่เห็นน้าแก้ไขให้มันถูกเลยครับ  ผมหมายคำตอบที่ถูกต้อง

เดี๋ยวแก้ไขใหม่ครับน้าเล็ก.
[chick7]ให้กำลังใจครับ  ชัยชนะที่  ยิ่งใหญ คือ ชนะใจของเราครับ สู้ๆครับ น้าpaas
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 11:16:11 AM
ระหว่างที่รอคุณ paas post คำตอบ มีอีกข้อนึงให้ทดลองทำกันครับ
ขอนี้ขอให้คนที่ทำได้แล้วยังไม่ post นะครับ อยากให้คนที่ไม่แน่ใจว่าตัวเองทำได้หรือเปล่าลอง post คำตอบดูก่อนครับ

จากรูปด้านล่าง ถ้าหลอดซ้ายต้องการไฟที่ plate 250V และกระแสไหลประมาณ 3 mA ส่วนหลอดขวาต้องการไฟที่ plate 350V และมีกระแสไหล 10 mA โดยมี power supply 500V ให้ R2 และ R4 จะต้องมีค่าเท่าไหร่ถึงจะทำให้หลอดทำงานตามจุดที่เราต้องการ? และควรจะใช้ R ขนาดกี่ watt?
(https://www.dropbox.com/s/wk6b7k7dyly9wje/Power%20supply%201.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 11:54:11 AM
สนุกเลยครับอาจารย์...
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 12:00:20 PM
ลองเสี่ยงเข้ามาตอบครับ

R4 drop 50V =   R4 = 50/(13/1000)      3,846   Ohm   
         R4= 3.8kohm      
         เลือกใช้ 3.9   Kohm   10W

เพราะ   Pd R4 = I * V   = 13ma*500v   6.5   W   

R2 drop 197V@3mA =   R2 = 197/(3/1000)      65,667   Ohm   
         R2= 65.667kohm      
         เลือกใช้ 68   Kohm   5W

เพราะ   Pd R2 = I * V   = 3ma*450v   1.35   W   
 
ถูกหรือเปล่าครับ [confused-face]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 12:22:11 PM
 [fb-smiling]โจทย์ของผม เริ่มต้นแบบนี้ถูกเปล่า จะได้ไปต่อครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 12:56:01 PM
ลองเสี่ยงเข้ามาตอบครับ

R4 drop 50V =   R4 = 50/(13/1000)      3,846   Ohm   
         R4= 3.8kohm      
         เลือกใช้ 3.9   Kohm   10W

เพราะ   Pd R4 = I * V   = 13ma*500v   6.5   W   

R2 drop 197V@3mA =   R2 = 197/(3/1000)      65,667   Ohm   
         R2= 65.667kohm      
         เลือกใช้ 68   Kohm   5W

เพราะ   Pd R2 = I * V   = 3ma*450v   1.35   W   
 
ถูกหรือเปล่าครับ [confused-face]



ตามความเห็นผมคิดว่า.....
 PR2 น่าจะเอาแรงดันคร่อม VR2  มาคูณกับ กระแสที่ไหลผ่านนะครับ   
 PR4 ก็เช่นเดียวกันครับ   

แต่ผมจะเผื่อกำลังไป 5 เท่า ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:05:46 PM
 อาจารย์เค้าให้พวกท่านคำนวณ Dissipation ที่เกิดขึ้นกับ R เท่านั้นนะครับเพื่อดูว่าคุณคิดกันเป็นมั้ย  ส่วน safety factor มันเป็นความพึงพอใจของแต่ละคนที่จะเผื่อเท่าไหร่  [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:08:45 PM
อาจารย์เค้าให้พวกท่านคำนวณ Dissipation ที่เกิดขึ้นกับ R เท่านั้นนะครับเพื่อดูว่าคุณคิดกันเป็นมั้ย  ส่วน safety factor มันเป็นความพึงพอใจของแต่ละคนที่จะเผื่อเท่าไหร่  [fb-smiling]

ตายล่ะ ผมผิดซ่ะแล้ว..... [smiling-tongue]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:11:02 PM
 ขอบคุณครับ น้า johnney_chivas


ผมว่าอยู่ ว่ามันแหม่งๆ ไงไม่รู้  [yellow-lol]



R4 โวลต์ตกคร่อม 50V@13mA  ดังนั้น  Pd = I * V = 13mA * 50V = 0.65 W

R2 โวลต์ตกคร่อม 197V@3mA  ดังนั้น  Pd = I * V = 3mA * 197V = 0.591 W

ตามนี้พอได้มั้ยครับอาจารย์  [enjoyment]


หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:28:07 PM
[fb-smiling]โจทย์ของผม เริ่มต้นแบบนี้ถูกเปล่า จะได้ไปต่อครับ

การคำนวนผิดแต่ตัวเลขกลับถูกครับ เพราะถ้าเอามิเตอร์มาวัดระหว่าง 25V กับ -15V จะได้ 40V
ซึ่งจริงๆแล้วมาจากวิธีคิดแบบนี้ครับ

25 - (-15) -> ถอดวงเล็บออก จะได้เป็น -> 25+15 =40

ที่เหลือเข้าใจถูกต้องแล้วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:39:34 PM
ลองเสี่ยงเข้ามาตอบครับ

R4 drop 50V =   R4 = 50/(13/1000)      3,846   Ohm   
         R4= 3.8kohm      
         เลือกใช้ 3.9   Kohm   10W

เพราะ   Pd R4 = I * V   = 13ma*500v   6.5   W   

R2 drop 197V@3mA =   R2 = 197/(3/1000)      65,667   Ohm   
         R2= 65.667kohm      
         เลือกใช้ 68   Kohm   5W

เพราะ   Pd R2 = I * V   = 3ma*450v   1.35   W   
 
ถูกหรือเปล่าครับ [confused-face]

การคำนวน R ถูกต้องแล้วครับ
ส่วนการคำนวน dissipation ของ R มีสูตรให้อีก 2 สูตรครับ
จาก P = I x V ===> สูตร1
และเรารู้มาว่า R = V / I
ดังนั้น V = I xR
เอา V ไปแทนค่าใน สูตร1 จะได้
P = I x I x R
P = I2R

กลับมาที่ R = V / I
จะได้ I = V / R
เอาไปแทนค่าใน สูตร1
P = (V / R) x V
P = V2/R

สองสูตรนี้ช่วยให้เราหา P ได้เลยโดยใช้ค่า R กับ I หรือ V ก็ได้
สมมติว่า R4 ใช้ค่า 3.9K และมีกระแสไหล 13 mA
จะได้
P = 13 mA x 13 mA x 3900 = 0.65W

คำถามต่อไปคือควรใช้ R ที่มี rating กี่ W และทำไม?
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: sw067362 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 01:59:48 PM
ขอบคุณครับ น้า johnney_chivas


ผมว่าอยู่ ว่ามันแหม่งๆ ไงไม่รู้  [yellow-lol]



R4 โวลต์ตกคร่อม 50V@13mA  ดังนั้น  Pd = I * V = 13mA * 50V = 0.65 W

R2 โวลต์ตกคร่อม 197V@3mA  ดังนั้น  Pd = I * V = 3mA * 197V = 0.591 W

ตามนี้พอได้มั้ยครับอาจารย์  [enjoyment]



รบกวนน้าช่วยอธิบายการคำนวณ R2 ตกคร่อม 197 v หน่อยครับ ผมงงอยู่
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:24:28 PM
 นึกว่าจะไม่มีใครสงสัย หรือ สงสัยกัน แต่ไม่มีคนกล้าที่จะถาม  [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:27:52 PM
ได้ครับ ขอเรียบเรียงนิดนึงครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:43:03 PM
(http://upic.me/i/f7/powersupply1.jpg) (http://upic.me/show/60870926)

จากรูปวงจร

เราจะเห็นว่าภาคจ่ายไฟ จ่ายเข้าวงจร ที่ 500V

และผ่านตัวต้านทาน R4 เพื่อลดไฟลงจาก 500 โวลต์ ในขั้นต้น
และผ่าน R10k ที่ กระแส 10 mA  ซึ่ง จะทำให้ไฟฟ้าถูกลดลงอีก
จนเหลือที่เราต้องการจ่ายให้เพลท ของหลอดขวา ที่ 350V

เมื่อคิดย้อนทาง และพิจารณาโวลต์ตกคร่อมที่ R10k

จะต้องใช้สูตร V = IR คิดออกมาได้ V = 10mA * 10k
ตัวเลขที่ต้องใช้ต้องแปลงหน่วยนิดหน่อย
โดยแปลง 10mA เป็นหน่วย Amp ต้องหารด้วย 1000

แปลง 10k เป็น โอห์ม จะต้องคูณ 10 ด้วย 1000

สูตรที่ผ่านการปรับแล้วก็จะได้ V = (10/1000) * (10*1000) = 100 โวลต์

ดังนั้นจะได้ค่าโวลต์ที่ตกคร่อม R10k ที่ 100 โวลต์

แต่เรายังต้องลดไฟลงอีก จาก 500 ลดเหลือ 350 โวลต์

เพราะฉะนั้น R4 จะต้อง ลดไฟได้ = 500 - (100+350)
                                       = 50 โวลต์

ในขณะที่กระแสไหลผ่าน R4 จะต้องพอจ่ายให้กับวงจรที่แยกไปสองเส้นทาง
โดยผลรวมกระแส เท่ากับ 10mA(กระแสเข้าหลอดขวา) + 3mA(กระแสเข้าหลอดซ้าย)

ดังนั้น R4 จะต้องมีค่าเท่ากับ R4 = V/I = 50V/13mA = 50/(13/1000) โอห์ม
                                                                  = 3,846 โอห์ม
 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:43:24 PM
ขอตอบตามที่ผมเข้าใจครับ
V=500, It=13 หาค่า R4,R5 และ W=?
R4=V/I =500/13= 3.85k
Pr4= I ยกกำลัง2×R4 =(13×13)×3.85k=650mW
R4=3.85 k, P=650mW
จากตรงนี้ผมคิดผิด ขอเวลาแก้ไขครับ





หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:49:46 PM
อ้าว ผมดูผิด R1 = 27k  ขอคำนวณใหม่อีกทีครับ  [Tongue-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 02:57:13 PM
ขอตอบตามที่ผมเข้าใจครับ
V=500, It=13 หาค่า R4,R5 และ W=?
R4=V/I =500/13= 3.85k   คิดให้ดูหน่อยครับว่าตัวเลขคำตอบมายังไง
Pr4= I ยกกำลัง2×R4 =(13×13)×3.85k=650mW
R4=3.85 k, P=650mW
หาแรงดันตกคล่อมที่R4 เมื่อ Iที่ R4=10ma
Vr4= I×R =10ma×3.85 k= 38.50 V
หา V2  เพื่อหา R2
V2 = Vin- Vr4 = 500-38.50 =461.50 v
 V2= 461.50, It= 13 ma R2=?
R2= V÷I = 461.50÷13 = 3.55K
Pr2= Iยกกำลัง2×R = (13×13)×3.55k = 599 mw
R2= 3.55k , P = 599 mw
   [chick5]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:06:09 PM
ขอตอบตามที่ผมเข้าใจครับ
V=500, It=13 หาค่า R4,R5 และ W=?
R4=V/I =500/13= 3.85k   คิดให้ดูหน่อยครับว่าตัวเลขคำตอบมายังไง
Pr4= I ยกกำลัง2×R4 =(13×13)×3.85k=650mW
R4=3.85 k, P=650mW
หาแรงดันตกคล่อมที่R4 เมื่อ Iที่ R4=10ma
Vr4= I×R =10ma×3.85 k= 38.50 V
หา V2  เพื่อหา R2
V2 = Vin- Vr4 = 500-38.50 =461.50 v
 V2= 461.50, It= 13 ma R2=?
R2= V÷I = 461.50÷13 = 3.55K
Pr2= Iยกกำลัง2×R = (13×13)×3.55k = 599 mw
R2= 3.55k , P = 599 mw
   [chick5]
[chick-confuse] [chick-confuse] [chick-confuse]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: sw067362 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:22:56 PM
อ้าว ผมดูผิด R1 = 27k  ขอคำนวณใหม่อีกทีครับ  [Tongue-11]
ผมคำนวณ V ตกคร่อม R2มันได้ 119V  ได้จากหาไฟตกคร่อมที่ R1 ได้ 81V เมื่อบวกกับไฟที่เพลต 250V จะได้ไฟหลัง R2 เท่ากับ 331V ไฟหายไปเท่ากับ 450-331 เท่ากับตกคร่อมที่ R1 เท่ากับ 119V ไม่รู้ถูกหรือเปล่า
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:25:23 PM
อ้าว ผมดูผิด R1 = 27k  ขอคำนวณใหม่อีกทีครับ  [Tongue-11]
ผมคำนวณ V ตกคร่อม R2มันได้ 119V  ได้จากหาไฟตกคร่อมที่ R1 ได้ 81V เมื่อบวกกับไฟที่เพลต 250V จะได้ไฟหลัง R2 เท่ากับ 331V ไฟหายไปเท่ากับ 450-331 เท่ากับตกคร่อมที่ R1 เท่ากับ 119V ไม่รู้ถูกหรือเปล่า

ถูกครับ  [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:27:13 PM
ขอตอบตามที่ผมเข้าใจครับ
V=500, It=13 หาค่า R4,R5 และ W=?
R4=V/I =500/13= 3.85k   คิดให้ดูหน่อยครับว่าตัวเลขคำตอบมายังไง
Pr4= I ยกกำลัง2×R4 =(13×13)×3.85k=650mW
R4=3.85 k, P=650mW
หาแรงดันตกคล่อมที่R4 เมื่อ Iที่ R4=10ma
Vr4= I×R =10ma×3.85 k= 38.50 V
หา V2  เพื่อหา R2
V2 = Vin- Vr4 = 500-38.50 =461.50 v
 V2= 461.50, It= 13 ma R2=?
R2= V÷I = 461.50÷13 = 3.55K
Pr2= Iยกกำลัง2×R = (13×13)×3.55k = 599 mw
R2= 3.55k , P = 599 mw
   [chick5]
[chick-confuse] [chick-confuse] [chick-confuse]
แรงดันตกคร่อม R4 หาได้เท่าไหร่ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:30:53 PM
มาแก้ไขที่ดูค่า R1 ผิดไปครับ

เมื่อกี้ ค่าโวลต์หลังผ่าน R4 จะลดลงจาก 500 โวลต์ เหลือ 450 โวลต์

ก็จะวิ่งมาผ่าน R2 และ R1(27k)

และมีกระแสวิ่งผ่าน R1 ที่ 3 mA

คิดแรงดันตกคร่อม R1 คือ  V = I1(3 mA)*R1(27,000 โอห์ม) = 81 V

แต่เราต้องการให้ไฟฟ้าที่เข้าเพลทหลอดซ้าย ที่ 250 V

ดังนั้น R2 จะมีโวลต์ตกคร่อมอยู่ที่ = 450 - (81+250) = 119 V


ดังนั้นค่าความต้านทาน R2  = V/I = 119/(3/1000) = 39,667 โอห์ม


Pd สำหรับ R2 คิดจาก กระแสไหลผ่านและโวลต์ตกคร่อมคูณกัน = 3mA*119V = 0.36W

Pd สำหรับ R4 คิดเช่นเดียวกัน = 13mA*50V = 0.65W
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:31:25 PM
อ้าว ผมดูผิด R1 = 27k  ขอคำนวณใหม่อีกทีครับ  [Tongue-11]
ผมคำนวณ V ตกคร่อม R2มันได้ 119V  ได้จากหาไฟตกคร่อมที่ R1 ได้ 81V เมื่อบวกกับไฟที่เพลต 250V จะได้ไฟหลัง R2 เท่ากับ 331V ไฟหายไปเท่ากับ 450-331 เท่ากับตกคร่อมที่ R1 เท่ากับ 119V ไม่รู้ถูกหรือเปล่า
พี่นี่ถือเป็นเซอร์ไพรส์สำหรับผมเลย  จากที่ผมคาดไว้แต่แรกว่าพี่จะตามหลังคนอื่น เพราะทำน้อย กว่าคนอื่นๆเค้า เยี่ยมเลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:34:18 PM
คำถามต่อไปคือควรใช้ R ที่มี rating กี่ W และทำไม?

     อาจารย์เค้าถามไว้ยังไม่เห็นมีคนตอบครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 03:37:23 PM
การคำนวน R ถูกต้องแล้วครับ
ส่วนการคำนวน dissipation ของ R มีสูตรให้อีก 2 สูตรครับ
จาก P = I x V ===> สูตร1
และเรารู้มาว่า R = V / I
ดังนั้น V = I xR
เอา V ไปแทนค่าใน สูตร1 จะได้
P = I x I x R
P = I2R

กลับมาที่ R = V / I
จะได้ I = V / R
เอาไปแทนค่าใน สูตร1
P = (V / R) x V
P = V2/R

สองสูตรนี้ช่วยให้เราหา P ได้เลยโดยใช้ค่า R กับ I หรือ V ก็ได้
สมมติว่า R4 ใช้ค่า 3.9K และมีกระแสไหล 13 mA
จะได้
P = 13 mA x 13 mA x 3900 = 0.65W

คำถามต่อไปคือควรใช้ R ที่มี rating กี่ W และทำไม?

จากการคำนวณที่ได้ PR4 = 0.65w  , PR2 = 0.357W
ตามประสพการณ์ที่ผมได้ทดลองทำมา การเลือกค่ากำลังเพียง 1 W จะทำให้เกิดความร้อนที่ตัวต้านทานเป็นอย่างมาก
เพราะมีพลังงานไหลผ่านตัวมันมาก และเมื่อตัวต้านทานเกิดความร้อนขึ้นอย่างแรกคือค่าความต้านทานเปลี่ยนซึ่งจะส่งผลต่อระดับแรงดันทุกจุดในวงจรแน่นอนทำให้วงจรทำงานไม่สเถียร และอย่างที่สองที่ตามมา คือในระยะยาวค่าความต้านทานของ R2 และ R4 เปลี่ยนแปลงแบบถาวรแน่นอนครับและทำให้ทำให้อุปกรณ์และวงจรเกิดความเสียหาย

ผมจึงมักจะเผื่อกำลังไปเป็นที่ 5 เท่า หรือ 3 เท่าเป็นอย่างน้อย เพราะเมื่อเผื่อกำลังแล้วจะทำให้ตัวต้านทานไม่ร้อน ค่าความต้านทานก็แทบจะไม่เปลี่ยนแปลง วงจรมีประสิทธิภาพมากขึ้นครับ

สรุปผมเลือกใช้ที่ PR4 = 4W  , PR2 = 2W  ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 04:35:17 PM
 โห 4w  [frightened-12]

R4 = 3.9K ผ่านกระแส 13 mA.   จาก power rating ที่น้า ป๋อ เลือกคือ 4w.

  I = Sqrt (P/R)

  I = Sqrt (4/3900) = 0.032A = 32 mA.  นั่นแสดงว่าน้าป๋อเผื่อ power rating ถึง 2.5 เท่า หรือ 250% เลยทีเดียวครับ  Pro เค้าแนะนำ safety factor for resistor ไว้ที่ 50%  ดังนั้นจะเลือกใช้ R4  ที่ power rating 2W 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 04:47:48 PM
Sqrt   คือ รากที่สอง หรือ square root of 2

ใครพิมพ์สัญลักษณ์ square root เป็นสอนผมหน่อยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 04:52:23 PM
Sqrt   คือ รากที่สอง หรือ square root of 2

ใครพิมพ์สัญลักษณ์ square root เป็นสอนผมหน่อยครับ

I=√(P/R)   [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:07:41 PM
โห 4w  [frightened-12]

R4 = 3.9K ผ่านกระแส 13 mA.   จาก power rating ที่น้า ป๋อ เลือกคือ 4w.

  I = Sqrt (P/R)

  I = Sqrt (4/3900) = 0.032A = 32 mA.  นั่นแสดงว่าน้าป๋อเผื่อ power rating ถึง 2.5 เท่า หรือ 250% เลยทีเดียวครับ  Pro เค้าแนะนำ safety factor for resistor ไว้ที่ 50%  ดังนั้นจะเลือกใช้ R4  ที่ power rating 2W 

ผมก็ไม่ได้อิงหลักการอะไรเลยครับน้าเล็ก เลือกเอาง่าย ๆ จากค่าที่คำนวณได้ 5 เท่า หรือกะว่าไม่ร้อนขณะใช้งานน่ะครับ
ได้มารู้หลักการก็เป็นสิ่งที่ดีครับ จะได้เป็นแหล่งอ้างอิงครับ  [huge-thumbs-up]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:09:32 PM
การเลือก power rating โดยเฉพาะ power resister ที่ใช้กับ cathode ที่ dissipate ความร้อนมากๆ ให้ดู derating spec ของ resistor ชนิดต่างกันด้วยนะครับ ผมมีตัวอย่าง spec สำหรับ R 3 แบบให้ดู

R กระเบื้อง
(https://www.dropbox.com/s/dxw2me79xxkz2og/R-Ceramic.PNG?raw=1)

R sink
(https://www.dropbox.com/s/n743eycs6brbbva/R-Aluminum.PNG?raw=1)

R Power film
(https://www.dropbox.com/s/yn0yoc4no7qdwe1/R-Thick%20Film.PNG?raw=1)

กราฟที่เห็นบอกได้ว่าเมื่ออุณหภูมิของ R ต่างกัน การทนวัตต์ก็ต่างกันด้วย เช่น R film ของ Caddock รุ่น MP915, MP916(รูปล่างสุด) power ลดลงเหลือ 60% เมื่ออุณหภูมิตัวมันสูงขึ้น 75C ส่วน R กระเบื้องอึดสุดเพราะที่ 100C rating ของมันอยู่ที่ประมาณ 85% แต่ตัวมันก็ไม่ค่อยเหมาะกับงานที่มีสัญญาณผ่านเท่าไหร่ เพราะมันมีค่าความเนี่ยวนำแฝง (inductance) สูง ผมใช้ R พวกนี้กับ power supply

ผมเองใช้ประมาณเอาครับ 50% ที่คุณเล็กแนะนำก็ใช้ได้ดีครับ ถ้าใครมีเครื่องวันอุณหภูมิแบบ infrared จะช่วยได้มากเลย แต่เครื่องมือวัดเองที่เชื่อถือได้ราคาก็แพงพอสมควรครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:13:31 PM
 บ้านเราสภาพอากาศร้อน ทำให้ระยะยาว ความร้อนแฝงสะสมจะเพิ่มขึ้น ร้อนมากก็เพี้ยน ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับชนิด และ คุณภาพของ R ที่ใช้ด้วยครับ เผื่อไว้หน่อยก็ดี แต่เผื่อเยอะจะหายากและเปลืองกะตังค์ครับ

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:17:25 PM
  อ่านกันดูครับ ว่าด้วยเรื่อง Resistor power rating  >>  http://www.electronics-tutorials.ws/resistor/res_7.html (http://www.electronics-tutorials.ws/resistor/res_7.html)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:45:52 PM
ลองตอบนะครับ 
ศึกษาจากกระทู้ ที่หลายท่านตอบไป

สมมติว่า  5K=R1 , 4k=R2 , 3K=R3 ,6k=R4

1. หาค่า Va  คือ จุด A เทียบ G

หากระแสก่อน     I=V/R  (  v=40 ) / (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K
                       = 40/2.22 = 18.01 mA
                    V = R*I
                       =2.22 * 18.01= 39.99   
น่าจะผิดครับ

2.หาค่า power รวม
หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.5K
                              นำผลรวม 5.5K ขนานกับ R4  6k  =1/5.5 +1/6  = 2.869 K 
                     Rt = 2.869 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.869k)         
                         =  40/2.869 = 13.94 mA

Power รวม        P = I*V  = 13.94 * 40 = 557.6 w

น่าจะผิดอีกแหละ


วันนี้วิ่งต่างจังหวัดทั้งวัน เพิ่งจะกลับเข้าบ้าน

ขอลองแก้ไขดูครับ 

ข้อ ๒ หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.22K
                              นำผลรวม 5.22K ขนานกับ R4  6k  =1/5.22 +1/6  = 2.791 K 
                     Rt = 2.791 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.791k)         
                         =  40/2.791 = 14.33 mA

Power รวม        P = I*V  = 14.33 * 40 = 573.2 w

ไม่รู้ว่าวิธีคำนวณถูกต้องหรือเปล่าครับ 

ข้อ 1   ตอบไม่ได้ครับ ขอเรียนซ้ำชั้นครับ
 [embarrassed] [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 05:51:53 PM
ผมนี้ตกทุกข้อ.. [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 06:19:02 PM
ลองตอบนะครับ 
ศึกษาจากกระทู้ ที่หลายท่านตอบไป

สมมติว่า  5K=R1 , 4k=R2 , 3K=R3 ,6k=R4

1. หาค่า Va  คือ จุด A เทียบ G

หากระแสก่อน     I=V/R  (  v=40 ) / (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K
                       = 40/2.22 = 18.01 mA
                    V = R*I
                       =2.22 * 18.01= 39.99   
น่าจะผิดครับ

2.หาค่า power รวม
หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.5K
                              นำผลรวม 5.5K ขนานกับ R4  6k  =1/5.5 +1/6  = 2.869 K 
                     Rt = 2.869 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.869k)         
                         =  40/2.869 = 13.94 mA

Power รวม        P = I*V  = 13.94 * 40 = 557.6 w

น่าจะผิดอีกแหละ


วันนี้วิ่งต่างจังหวัดทั้งวัน เพิ่งจะกลับเข้าบ้าน

ขอลองแก้ไขดูครับ 

ข้อ ๒ หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.22K
                              นำผลรวม 5.22K ขนานกับ R4  6k  =1/5.22 +1/6  = 2.791 K 
                     Rt = 2.791 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.791k)         
                         =  40/2.791 = 14.33 mA

Power รวม        P = I*V  = 14.33 * 40 = 573.2 w

ไม่รู้ว่าวิธีคำนวณถูกต้องหรือเปล่าครับ 

ข้อ 1   ตอบไม่ได้ครับ ขอเรียนซ้ำชั้นครับ
 [embarrassed] [embarrassed]
   ผิดแบบ น่าจะโดนหวดก้นมากครับ ผิดที่เดิมเหมือนเดิมทุกอย่างเลย วิธีการคิดถูกต้องแล้ว แต่น้าแทนค่าหน่วยผิด ในอีกห้องผมย้ำเรื่องเรื่องนี้มาก เพราะถ้าเราแทนค่าหน่วยผิดจะทำให้ผลการคำนวณผิดไปด้วยครับ

P = I * V

P = watt = ?
I = Amp > 14.33mA / 1000 = 0.01433 A.
V = volt  > 40v.

 P = 0.01433*40 = 0.5732W หรือ 573.2mW.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 06:21:58 PM
ผมนี้ตกทุกข้อ.. [embarrassed]
  ไม่เข้าใจตรงไหน แนวคิด วิธีการให้ถามมาครับ เค้าจะไปกันแล้ว เดี๋ยวจะตามไม่ทันนะครับ โอกาสอย่างนี้ไม่ได้มีบ่อยๆ พลาดแล้วเดี๋ยวจะตกขบวน  อย่าอายที่จะถาม อย่าให้เสียชื่อเด็กไทวัยเก๋าครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 06:30:17 PM
ลองตอบนะครับ 
ศึกษาจากกระทู้ ที่หลายท่านตอบไป

สมมติว่า  5K=R1 , 4k=R2 , 3K=R3 ,6k=R4

1. หาค่า Va  คือ จุด A เทียบ G

หากระแสก่อน     I=V/R  (  v=40 ) / (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K
                       = 40/2.22 = 18.01 mA
                    V = R*I
                       =2.22 * 18.01= 39.99   
น่าจะผิดครับ

2.หาค่า power รวม
หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.5K
                              นำผลรวม 5.5K ขนานกับ R4  6k  =1/5.5 +1/6  = 2.869 K 
                     Rt = 2.869 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.869k)         
                         =  40/2.869 = 13.94 mA

Power รวม        P = I*V  = 13.94 * 40 = 557.6 w

น่าจะผิดอีกแหละ


วันนี้วิ่งต่างจังหวัดทั้งวัน เพิ่งจะกลับเข้าบ้าน

ขอลองแก้ไขดูครับ 

ข้อ ๒ หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.22K
                              นำผลรวม 5.22K ขนานกับ R4  6k  =1/5.22 +1/6  = 2.791 K 
                     Rt = 2.791 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.791k)         
                         =  40/2.791 = 14.33 mA

Power รวม        P = I*V  = 14.33 * 40 = 573.2 w

ไม่รู้ว่าวิธีคำนวณถูกต้องหรือเปล่าครับ 

ข้อ 1   ตอบไม่ได้ครับ ขอเรียนซ้ำชั้นครับ
 [embarrassed] [embarrassed]
   ผิดแบบ น่าจะโดนหวดก้นมากครับ ผิดที่เดิมเหมือนเดิมทุกอย่างเลย วิธีการคิดถูกต้องแล้ว แต่น้าแทนค่าหน่วยผิด ในอีกห้องผมย้ำเรื่องเรื่องนี้มาก เพราะถ้าเราแทนค่าหน่วยผิดจะทำให้ผลการคำนวณผิดไปด้วยครับ

P = I * V

P = watt = ?
I = Amp > 14.33mA / 1000 = 0.01433 A.
V = volt  > 40v.

 P = 0.01433*40 = 0.5732W หรือ 573.2mW.


 [frightened-12] [frightened-12]

ขอบคุณครับน้าเล็ก 

ผมก็สงสัยจุดนี้เหมือนกันว่า ทำไมกำลังมหาศาลตั้ง 573 W เลยหรือ   แต่ไม่รู้จะแทนค่าออกมายังไง   

แต่ก็ยังดีหน่อยที่วิธีคำนวณถูก       [chick-guitar] [chick-guitar]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 06:36:32 PM
  ห้ามมีครั้งที่สาม เด็ดขาด นะครับ น้า paas
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 06:39:09 PM
  ห้ามมีครั้งที่สาม เด็ดขาด นะครับ น้า paas

 [frightened-12] [frightened-12] [frightened-12]

โห   โหดจังเลยครับบบบบบ   
ผมยังคิดว่า ต้องมี 5-6 ครั้งแน่ ๆ 


หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 09:56:40 PM
ผมนี้ตกทุกข้อ.. [embarrassed]
  ไม่เข้าใจตรงไหน แนวคิด วิธีการให้ถามมาครับ เค้าจะไปกันแล้ว เดี๋ยวจะตามไม่ทันนะครับ โอกาสอย่างนี้ไม่ได้มีบ่อยๆ พลาดแล้วเดี๋ยวจะตกขบวน  อย่าอายที่จะถาม อย่าให้เสียชื่อเด็กไทวัยเก๋าครับ
ขอบคุณครับที่ให้กำลังใจ ผมสงสัยเยอะมาก เพราะไม่ได้เรียนเรื่องพวกนี้มาครับ แต่เอาเถอะถึงจะไม่ทันเพื่อนแต่จะพยายามเกาะหลังไปเรื่อยๆๆครับ [enjoyment]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 10:09:21 PM
พื้นฐานไม่เหมือนกันมันก็เป็นธรรมดาครับน้าไม่ต้องซีเรียด เล่นๆไปศึกษาไปครับน้า ทำที่เราชอบเราเลือกตามแรงเราครับ [pig90118]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 10:13:20 PM
  ผมก็ไม่ได้เรียนมาเหมือนกันครับ มานั่งแกะเอาใหม่ๆก็ใช้เวลานานมาก ผมเป็นคนที่เข้าใจอะไรยากตั้งแต่สมัยเรียนแล้วต้องอ่านและทำความเข้าใจให้เยอะกว่าคนอื่น  และ มีอาจารย์ที่ดี ที่คอยแนะนำผมตลอดไม่ให้เล่นแบบหลงทิศหลงทาง  ค่อยๆแกะปมไปครับ มันต้องมีสักวัน
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 24 พฤษภาคม 2017, 10:35:59 PM
ตรงไหนไม่เข้าใจ ผมแนะนำให้วาดรูปแล้วชี้จุดมาว่าตรงไหนไม่เข้าใจนะครับ จะได้ช่วยกันอธิบาย เพราะเดี๋ยวขึ้นเรื่องหลอดแล้วจะได้ไปพร้อมๆกัน
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 25 พฤษภาคม 2017, 08:15:14 AM
ลองตอบนะครับ 
ศึกษาจากกระทู้ ที่หลายท่านตอบไป

สมมติว่า  5K=R1 , 4k=R2 , 3K=R3 ,6k=R4

1. หาค่า Va  คือ จุด A เทียบ G

หากระแสก่อน     I=V/R  (  v=40 ) / (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K
                       = 40/2.22 = 18.01 mA
                    V = R*I
                       =2.22 * 18.01= 39.99   
น่าจะผิดครับ

2.หาค่า power รวม
หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.2K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.5K
                              นำผลรวม 5.5K ขนานกับ R4  6k  =1/5.5 +1/6  = 2.869 K 
                     Rt = 2.869 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.869k)         
                         =  40/2.869 = 13.94 mA

Power รวม        P = I*V  = 13.94 * 40 = 557.6 w

น่าจะผิดอีกแหละ


วันนี้วิ่งต่างจังหวัดทั้งวัน เพิ่งจะกลับเข้าบ้าน

ขอลองแก้ไขดูครับ 

ข้อ ๒ หาค่ารวมก่อน    Rt = (R1=5K, R2=4K R3=3K ,R4=6k

                             (R1)+(R2) ขนานกันเท่ากับ (1/5+1/4)  = 2.22K + (R3) 3k อนุกรมกัน =  5.22K
                              นำผลรวม 5.22K ขนานกับ R4  6k  =1/5.22 +1/6  = 2.791 K 
                     Rt = 2.791 k 
                     
หากระแส            I = V/R  (Vt=40 v) / (Rt= 2.791k)         
                         =  40/2.791 = 14.33 mA

Power รวม        P = I*V  = 14.33 * 40 = 573.2 w

ไม่รู้ว่าวิธีคำนวณถูกต้องหรือเปล่าครับ 

ข้อ 1   ตอบไม่ได้ครับ ขอเรียนซ้ำชั้นครับ
 [embarrassed] [embarrassed]
   ผิดแบบ น่าจะโดนหวดก้นมากครับ ผิดที่เดิมเหมือนเดิมทุกอย่างเลย วิธีการคิดถูกต้องแล้ว แต่น้าแทนค่าหน่วยผิด ในอีกห้องผมย้ำเรื่องเรื่องนี้มาก เพราะถ้าเราแทนค่าหน่วยผิดจะทำให้ผลการคำนวณผิดไปด้วยครับ

P = I * V

P = watt = ?
I = Amp > 14.33mA / 1000 = 0.01433 A.
V = volt  > 40v.

 P = 0.01433*40 = 0.5732W หรือ 573.2mW.


 [frightened-12] [frightened-12]

ขอบคุณครับน้าเล็ก 

ผมก็สงสัยจุดนี้เหมือนกันว่า ทำไมกำลังมหาศาลตั้ง 573 W เลยหรือ   แต่ไม่รู้จะแทนค่าออกมายังไง   

แต่ก็ยังดีหน่อยที่วิธีคำนวณถูก       [chick-guitar] [chick-guitar]

สำหรับหน่วยวัดที่เพิ่มตัวอักษรมาอยู่หน้าหน่วยวัด เอามาแทนเลขยกกำลังที่ไม่ต้องเขียนยาวๆครับต้องเอามาคำนวณด้วย

เช่น
k คิอ กิโล หรือ 10 ยกกำลัง 3
ถ้าเขาบอก 3 k ก็ต้องเอา 0 เติมอีก3ตัวค่ะ 3000
ถ้าเขาบอก 50k ก็เอา 0 เติม หลัง 3 ตัว เป็น 50000

m คิอ มิลลิ หรือ 10 ยกกำลัง -3
ถ้าเขาบอก 5mA ก็ต้องนับค่าที่แสดงให้ไปข้างหน้ารวม 3 ตำแหน่งแล้วใส่ .(จุด) คือ 0.005A
ถ้าเขาบอก 50mA ก็ต้องนับค่าที่แสดงให้ไปข้างหน้ารวม 3 ตำแหน่งแล้วใส่ .(จุด) คือ 0.050A
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 25 พฤษภาคม 2017, 08:39:18 AM
นี้เลยครับ..ที่ผม ถึงคิดค่าออกมาแล้วมันผิด [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 25 พฤษภาคม 2017, 09:20:07 AM
ผมอ่านเฉลยอย่างเดียวเลย  ยังดีที่อ่านแล้วเข้าใจ ขอบคุณทุกๆท่านมากเลย [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 26 พฤษภาคม 2017, 11:08:58 AM
รอคำตอบจากคุณ paas นะครับ
อาทิตย์หน้าจะเริ่มเรื่อง load line และการทำงานของหลอดขยายแล้วครับ เสาร์อาทิตย์นี้จะเตรียมเนื้อหาให้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 02:59:48 PM
ความสัมพันธ์ของ Load line และ Bias point
Bias point หรือบางครั้งเรียก DC bias เป็นจุดที่หลอดอยู่ในสภาวะนำกระแสนิ่งๆ เป็นจุดที่ใช้กำหนดจุดเริ่มต้นของการขยายสัญญาณ ตัวอย่างข้างล่างนี้เป็น plate curve ของ 6SN7

(https://www.dropbox.com/s/5sa0bq79x6ytzr5/6SN7.jpg?raw=1)
รูป plate curve ข้างบน เป็นตัวบอกว่าเมื่อไฟที่ grid เทียบกับ cathode มีค่าๆหนึ่ง กระแสที่ไหลผ่านหลอด และแรงดันที่ plate จะมีความสัมพันธ์ตามรูปด้านบน เช่น

ถ้า Vgk = -8V, Vplate = 250V จะได้กระแสไหล (Ip) ประมาณ 9 mA
ถ้า Vgk = -6V, Vplate = 200V กระแส Ip ประมาณ 7.5 mA

ถ้าเราต่อสัญญาณเสียงเข้าไปที่ grid แรงดันที่เปลี่ยนไปของ grid ก็จะทำให้การนำกระแสของหลอดเปลี่ยนแปลงไปด้วย การเปลี่ยนแปลงของกระแส ถ้าเราให้กระแสมันวิ่งผ่าน resistor ซึ่งเรารู้อยู่แล้วว่า V = I x R ดังนั้น V ก็จะเปลี่ยนไปตาม Ip

ก่อนจออธิบาย load line มีใครมีข้อสงสัยไม๊ครับ? โดยเฉพาะข้อความด้านบนนี้ ยังไงถามกันก่อนที่จะไปเรื่อง load line นะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 03:31:03 PM
 [what11]เราจะเลือกเส้น Vga เส้นไหนถึงเหมาะครับ เลืกมากหรือน้อย เป็นอย่างไงครับ A.J.
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 03:37:34 PM
ถ้าจะตอบตอนนี้ คือเลือกจุด bias ที่เมื่อกระแสเปลี่ยนแปลงผ่าน R plate load แล้วได้สัดส่วนที่ใกล้เคียงกันทั้งด้านบวกและลบของสัญญาณครับ

ตอบแบบนี้อาจจะงงหน่อย เดี๋ยวพอมี load line ตัดกับจุด bias แล้วจะเห็นภาพขึ้นครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 03:40:47 PM
ผมสามรถเลือกจุก Q point ได้จากค่ากลางของ EC=0-24  คือ 12V  ได้โดยตรงหรือไม่ครับ
เพราะคิดว่าถ้าเลือค่ากลางไปเลยเมื่อไบอัสสูง ๆ จะทำให้เกิน PD ของหลอด

แต่ผมเคยลากโหลดไลน์แล้วเลือกค่ากลาง ๆ ไว้ก่อน  แต่จะค่อนมาทางซ้ายมือเป็นหลักแล้วเลือเอาจากค่าแรงดัน V Plate
ให้สมมาตรระหว่างซีกบวกและลบ  แต่ปัญหาคือ เมื่อแรงดันที่กริดเทียบคาโถดเปลี่ยนแปลงไป จะทำให้แรงดันที่ เพลทไม่สมมาตรกันทั้งซีกบวกและลบ
ผมคิดว่าน่าจะหาจุดไบอัสได้หลายวิธีแต่ที่ไม่รู้คือวิธีไหนจะถูกต้องที่สุดน่ะครับ  [fb-smiling]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 03:46:37 PM
ถ้าจะตอบตอนนี้ คือเลือกจุด bias ที่เมื่อกระแสเปลี่ยนแปลงผ่าน R plate load แล้วได้สัดส่วนที่ใกล้เคียงกันทั้งด้านบวกและลบของสัญญาณครับ

ตอบแบบนี้อาจจะงงหน่อย เดี๋ยวพอมี load line ตัดกับจุด bias แล้วจะเห็นภาพขึ้นครับ
ขอบคุณครับ รออ่านต่อ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 04:48:25 PM
ผมสามรถเลือกจุก Q point ได้จากค่ากลางของ EC=0-24  คือ 12V  ได้โดยตรงหรือไม่ครับ
เพราะคิดว่าถ้าเลือค่ากลางไปเลยเมื่อไบอัสสูง ๆ จะทำให้เกิน PD ของหลอด

ได้ครับ

อ้างถึง
แต่ผมเคยลากโหลดไลน์แล้วเลือกค่ากลาง ๆ ไว้ก่อน  แต่จะค่อนมาทางซ้ายมือเป็นหลักแล้วเลือเอาจากค่าแรงดัน V Plate
ให้สมมาตรระหว่างซีกบวกและลบ  แต่ปัญหาคือ เมื่อแรงดันที่กริดเทียบคาโถดเปลี่ยนแปลงไป จะทำให้แรงดันที่ เพลทไม่สมมาตรกันทั้งซีกบวกและลบ
ผมคิดว่าน่าจะหาจุดไบอัสได้หลายวิธีแต่ที่ไม่รู้คือวิธีไหนจะถูกต้องที่สุดน่ะครับ  [fb-smiling]

เข้าใจถูกต้องแล้วครับ มันจะไม่สมดุลย์กัน 100% ตรงที่ไม่สมดุลย์นี่ละครับ จะเกิด distortion มากน้อยขึ้นอยู่กับ linearlity ของหลอดเอง

เดี๋ยวพรุ่งนี้ว่ากันต่อเรื่อง loadline แล้วจะมีแบบฝึกหัดให้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Molecular Man ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 05:07:32 PM
 [chick7] Triode - Load Line หรือ Plate Curve....ความมันส์ในการทำแอมป์หลอดกำลังจะเริ่มปรากฎขึ้นแล้ว.... [chick-clap]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 05:32:04 PM
[chick7] Triode - Load Line หรือ Plate Curve....ความมันส์ในการทำแอมป์หลอดกำลังจะเริ่มปรากฎขึ้นแล้ว.... [chick-clap]
  ระวังพุงแตกนะ เก็บไว้เยอะ หัดมาปล่อยให้น้องๆเค้าบ้างนะ ท่านโม
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 06:24:44 PM
ผมรู้สึกตื่นเต้นอย่างบอกไม่ถูก....หลังจากนี้คำถามผมจะมาเรื่อย ๆ แล้วนะครับ  [wink-12]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: giantphone ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 08:56:49 PM
ผมขอเป็นกองเชียร์ครับ [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 30 พฤษภาคม 2017, 11:42:17 PM
ผมจะตั้งใจเรียนครับอาจารย์ [pig90118]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: samud ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 09:32:15 AM
ความสัมพันธ์ของ Load line และ Bias point
Bias point หรือบางครั้งเรียก DC bias เป็นจุดที่หลอดอยู่ในสภาวะนำกระแสนิ่งๆ เป็นจุดที่ใช้กำหนดจุดเริ่มต้นของการขยายสัญญาณ ตัวอย่างข้างล่างนี้เป็น plate curve ของ 6SN7

(https://www.dropbox.com/s/5sa0bq79x6ytzr5/6SN7.jpg?raw=1)
รูป plate curve ข้างบน เป็นตัวบอกว่าเมื่อไฟที่ grid เทียบกับ cathode มีค่าๆหนึ่ง กระแสที่ไหลผ่านหลอด และแรงดันที่ plate จะมีความสัมพันธ์ตามรูปด้านบน เช่น

ถ้า Vgk = -8V, Vplate = 250V จะได้กระแสไหล (Ip) ประมาณ 9 mA
ถ้า Vgk = -6V, Vplate = 200V กระแส Ip ประมาณ 7.5 mA

ถ้าเราต่อสัญญาณเสียงเข้าไปที่ grid แรงดันที่เปลี่ยนไปของ grid ก็จะทำให้การนำกระแสของหลอดเปลี่ยนแปลงไปด้วย การเปลี่ยนแปลงของกระแส ถ้าเราให้กระแสมันวิ่งผ่าน resistor ซึ่งเรารู้อยู่แล้วว่า V = I x R ดังนั้น V ก็จะเปลี่ยนไปตาม Ip

ก่อนจออธิบาย load line มีใครมีข้อสงสัยไม๊ครับ? โดยเฉพาะข้อความด้านบนนี้ ยังไงถามกันก่อนที่จะไปเรื่อง load line นะครับ

V ก็จะเปลี่ยนไป  คือไฟลบที่เร้าป้อนให้ กริด ถูกต้องไหมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 03:40:55 PM
V ก็จะเปลี่ยนไป  คือไฟลบที่เร้าป้อนให้ กริด ถูกต้องไหมครับ

ไม่ใช่ครับ V ในที่นี้หมายถึง V ที่ plate ครับ ต้องขอโทษที่บางครั้งผมใช้สัญลักษณ์ซ้ำซ้อนกัน อ่านไปอ่านมาแล้วงง  [chick-confuse]
เดี๋ยวพออธิบายเรื่อง loadline แล้ว สัญลักษณ์ต่างๆจะชัดเจนกว่านี้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 03:44:38 PM
ก่อนจะเข้าไปเรื่อง load line ผมขออธิบายเรื่อง coupling capacitor ก่อนนะครับ ใครรู้แล้วก็ผ่านไปได้เลย

coupling capacitor มีหน้าที่ส่งผ่านสัญญาณ AC หรือในที่นี้คือสัญญาณเสียงตามรูปข้างล่างครับ
(https://www.dropbox.com/s/u83hfavuywaz9h5/Coupling-Capacitor-circuit-diagram.jpg?raw=1)

รูปถัดไปข้างล่างนี้เป็นรูปที่มาจาก scope รูปด้านซ้ายคือสัญญาณ AC ที่มาพร้อมกับไฟ DC รูปนี้บอกว่าจุดที่เราวัดนั้น มีไฟ DC 2V อยู่ ส่วนสัญญาณที่ออกมาจากจุดนี้ มีขนาดประมาณ 1V peak to peak ซึ่ง peak to peak หมายถึงความแตกต่างระหว่างยอดของด้านลบ(ล่าง)และบวก(บน)

รูปด้านซ้ายคือสัญญาณที่ผ่าน capacitor ซึ่งมีชื่อไทยๆว่าตัวเก็บประจุ และมันก็มีหน้าที่เก็บประจุไฟฟ้าจริงๆ จะเห็นว่าไฟ DC 2V หายไปแล้ว เป็นเพราะตัว capacitor นั้น ทำหน้าที่เก็บไฟ DC เอาไว้ แล้วปล่อยแต่สัญญาณ AC ออกมาเท่านั้น ผมขอข้ามเรื่องการคำนวนขนาดกับเทคนิคออกไปก่อนะครับ เพราะตอนนี้ต้องการให้รู้การทำงานพื้นฐานของ capacitor ก่อน
(https://www.dropbox.com/s/81lwbq3q0s45tn2/DC-and-AC-Coupling-sine-wave.jpg?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 03:59:53 PM
คราวนี้มาถึงเรื่อง loadline แล้วครับ เข้ามาดูวงจรกันเลย วงจรนี้ผม bias หลอด 6SN7 ง่ายๆตามนี้
(https://www.dropbox.com/s/lym6wpeqt6pobkw/6SN7%20Basic.jpg?raw=1)
Vg = -6V
Va = 200V (V plate จะใช้  Va เป็นสัญลักษณ์)
Ia =  8mA (กระแสที่ไหลผ่านหลอด ใช้ Ia เป็นสัญลักษณ์)
RL = 27Kohm (RL เป็นสัญลักษณ์ของ R plate load)
B+ = 416V (บางครั้ง B+ ใช้ตัวย่อ HT มาจาก High Tension)

ในรูปนี้ ผมให้สัญญาณผ่าน coupling capacitor ไปที่ Grid ของ 6SN7 โดยมีไฟลบ bias ที่ grid ของ 6SN7
สัญญาณที่เห็นเป็นรูปคลื่นที่ผมยกตัวอย่างให้เห็น 4 จุด จุด A, B, C และ D โดยแต่ละจุดมีขนาดของสัญญาณ 2V, 4V, -2V และ -4V

ดังนั้น เมื่อ Vin = 0V เพราะหลอดอยู่เฉยๆ ไม่มีความเปลียนแปลงของ  voltage ที่ plate (Va) ดังนั้น Vout จึงเท่ากับ 0

ที่จุด A) จากรุูปด้านล่าง พอมีสัญญาณเข้ามา Vin = 2V จะทำให้ Vg ยกระดับขึ้นมา 2V จาก -6V เป็น -4V เมื่อดูจาก plate curve หลอดจะมีกระแสไหลมากขึ้นไปตามเส้นสีส้มซึ่งที่ Vg เท่ากับ -4V กระแสควรจะเป็น 14mA
(https://www.dropbox.com/s/odn4d3jkr02ermn/6SN7%20-1.jpg?raw=1)
แต่ในความเป็นจริงนั้น กระแสที่เพิ่มขึ้นมา เมื่อผ่าน resistor ก็จะทำให้แรงดันตกคร่อม resistor เพิ่มขึ้นด้วย เมื่อแรงดันตกคร่อม resistor มากขึ้น แรงดันที่ plate (Va) ก็น้อยลงด้วย ดังนั้น เส้นสีส้มนี้จึงไม่ใช้เส้นที่แสดงการทำงานที่ถูกต้องของวงจรนี้
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 04:00:22 PM
เส้น loadline จึงถูกสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นเส้นที่บอกว่า Va จะเปลี่ยนไปไปตาม Vg และ Ia ยังไง เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่ Vg เปลี่ยน Ia ก็จะเปลี่ยน และเมื่อ Ia เพิ่มขึ้น แรงดันตกคร่อม RL มากขึ้น Va ก็จะลดลง ในทางตรงกันข้าม ถ้า Ia ลดลง แรงดันตกคร่อม RL ก็ลดลงด้วย Va ก็จะมากขึ้น

ตามรูปด้านล่างนี้ เราวาดเส้น loadline 27K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 40V เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก
Ia = V/RL
Ia = 40V / 27Kohm
Ia = 0.00148 ประมาณ 1.5mA
จากเส้นหนาๆสีน้ำเงิน ลากเส้นยืนออกมาทั้งสองด้าน ก็จะได้ loadline ที่ต้องการ
(https://www.dropbox.com/s/xwv3degyzurwosx/6SN7%20-2.jpg?raw=1)


เมื่อ Vg เป็น -4V จะได้ Va ประมาณ 170V
สรุป เมื่อแรงดันที่ Vg เพิ่มขึ้น 2V (จาก -6V เป็น -4V หรือ +2V) ทำให้แรงดันที่ plate (Va) เปลี่ยนจาก 200V เป็น 170V ลดลงไป 30V ซึ่งถ้าเขียนจริงๆต้องเป็น -30V ดังนั้น อัตราขยาย(gain)ของวงจรนี้คือ -15 ตัวเลขที่เป็นลบ บอกได้ว่าสัญญาณขาออกนั้นกลับ phase เมื่อเทียบกับขาเข้า

ถึงตรงนี้ใครมีคำถามอะไรก็ post ได้นะครับ

การบ้าน
จากวงจรตัวอย่างด้านบน จงหา
Va ที่จุด B, C และ D
gain ที่จุด B, C และ D
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Molecular Man ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 05:06:59 PM
 [chick-confuse] ส่องกราฟหา Point กันจนตาลาย....สู้ๆ  [chick-flying]

<ที่จุด A) จากรุูปด้านล่าง พอมีสัญญาณเข้ามา Vin = 2V จะทำให้ Vg ยกระดับขึ้นมา 1V จาก -6V เป็น -4V เมื่อดูจาก plate curve หลอดจะมีกระแสไหลมากขึ้นไปตามเส้นสีส้มซึ่งที่ Vg เท่ากับ -4V กระแสควรจะเป็น 14mA

ต้อง 2 Vเปล่าครับ ?

<ที่จุด A) จากรุูปด้านล่าง พอมีสัญญาณเข้ามา Vin = 2V จะทำให้ Vg ยกระดับขึ้นมา 2V จาก -6V เป็น -4V เมื่อดูจาก plate curve หลอดจะมีกระแสไหลมากขึ้นไปตามเส้นสีส้มซึ่งที่ Vg เท่ากับ -4V กระแสควรจะเป็น 14mA
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 05:31:32 PM
[chick-confuse] ส่องกราฟหา Point กันจนตาลาย....สู้ๆ  [chick-flying]

<ที่จุด A) จากรุูปด้านล่าง พอมีสัญญาณเข้ามา Vin = 2V จะทำให้ Vg ยกระดับขึ้นมา 1V จาก -6V เป็น -4V เมื่อดูจาก plate curve หลอดจะมีกระแสไหลมากขึ้นไปตามเส้นสีส้มซึ่งที่ Vg เท่ากับ -4V กระแสควรจะเป็น 14mA

ต้อง 2 Vเปล่าครับ ?

<ที่จุด A) จากรุูปด้านล่าง พอมีสัญญาณเข้ามา Vin = 2V จะทำให้ Vg ยกระดับขึ้นมา 2V จาก -6V เป็น -4V เมื่อดูจาก plate curve หลอดจะมีกระแสไหลมากขึ้นไปตามเส้นสีส้มซึ่งที่ Vg เท่ากับ -4V กระแสควรจะเป็น 14mA

ขอบคุณครับที่ช่วยชี้จุดผิด  [huge-thumbs-up] ต้องเป็น 2V ครับ เดี๋ยวแก้ให้ถูกครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 31 พฤษภาคม 2017, 09:36:09 PM
ขอลองตอบครับอาจารย์
- Va ที่จุด B, C และ D
(http://upic.me/i/l6/69untitled.png)

- gain ที่จุด B, C และ D
gain จุด B = (135-200)/4 = -16.25 เท่า
gain จุด C = (233-200)/(-2) = -16.5 เท่า
gain จุด D = (260-200)/(-4) = -15 เท่า
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 08:34:46 AM
ถูกต้องแล้วครับ
จะเห็นว่าคำตอบที่ได้เป็นลบเสมอ มันบอกอะไรเราได้บ้างครับ?
ตอนบ่ายจะมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: saichon ที่ 01 มิถุนายน 2017, 09:53:35 AM
ถูกต้องแล้วครับ
จะเห็นว่าคำตอบที่ได้เป็นลบเสมอ มันบอกอะไรเราได้บ้างครับ?
ตอนบ่ายจะมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมครับ
ขอลองตอบครับ
gain เป็น - เสมอ มันบอกเราว่ามันจะขยายแบบกลับเฟสเสมอรึป่าวครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 01 มิถุนายน 2017, 10:07:08 AM
ถูกต้องแล้วครับ
จะเห็นว่าคำตอบที่ได้เป็นลบเสมอ มันบอกอะไรเราได้บ้างครับ?
ตอนบ่ายจะมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมครับ
  อาจารย์ตกสูตรการหา gain ไปครับ ป่านนี้นั่งงงกันแล้วหล่ะครับ ว่า gain -15 ในตัวอย่างมาได้อย่างไร ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 01 มิถุนายน 2017, 10:11:26 AM
 เพิ่มเติมนิดนึงสูตรคณิตศาสตร์ประถม 

เครื่องหมายเหมือนกัน คูณ หรือ หารกัน ได้ผลเป็น บวก เสมอ 

เครื่องหมายต่างกัน คูณ หรือ หารกัน ได้ผลเป็น ลบ ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 10:25:28 AM
ถูกต้องแล้วครับ
จะเห็นว่าคำตอบที่ได้เป็นลบเสมอ มันบอกอะไรเราได้บ้างครับ?
ตอนบ่ายจะมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมครับ
  อาจารย์ตกสูตรการหา gain ไปครับ ป่านนี้นั่งงงกันแล้วหล่ะครับ ว่า gain -15 ในตัวอย่างมาได้อย่างไร ครับ

ไม่ได้บอกสูตรเพราะว่าผมอยากให้อ่านคำอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจครับ  [fb-smiling]
อ้างถึง
สรุป เมื่อแรงดันที่ Vg เพิ่มขึ้น 2V (จาก -6V เป็น -4V หรือ +2V) ทำให้แรงดันที่ plate (Va) เปลี่ยนจาก 200V เป็น 170V ลดลงไป 30V ซึ่งถ้าเขียนจริงๆต้องเป็น -30V ดังนั้น อัตราขยาย(gain)ของวงจรนี้คือ -15 ตัวเลขที่เป็นลบ บอกได้ว่าสัญญาณขาออกนั้นกลับ phase เมื่อเทียบกับขาเข้า

ซึ่งคำอธิบายนี้ เปลี่ยนแปลงเป็นสูตรได้แบบนี้ครับ

Gain = Vout / Vin
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 10:26:12 AM
ถูกต้องแล้วครับ
จะเห็นว่าคำตอบที่ได้เป็นลบเสมอ มันบอกอะไรเราได้บ้างครับ?
ตอนบ่ายจะมีแบบฝึกหัดเพิ่มเติมครับ
ขอลองตอบครับ
gain เป็น - เสมอ มันบอกเราว่ามันจะขยายแบบกลับเฟสเสมอรึป่าวครับ

ถูกต้องแล้วครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 01 มิถุนายน 2017, 11:31:50 AM
ไม่ว่างเลย....เรียนตามไปเรื่อย ๆ แล้วกันนะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 01 มิถุนายน 2017, 11:39:54 AM
 [fb-smiling] [huge-thumbs-up] ขอบคุณครับ

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 01 มิถุนายน 2017, 12:19:51 PM
เอามั่ง...ขอลอกสูตรหน่อยนะครับ  [yellow-lol]

(https://www.uppic.org/image-FEB2_592FA63D.jpg) (https://www.uppic.org/share-FEB2_592FA63D.html)

- gain ที่จุด B, C และ D
gain จุด B = (135-200)/4 = -16.25 เท่า
gain จุด C = (232-200)/(-2) = -16 เท่า
gain จุด D = (262-200)/(-4) = -15.5 เท่า

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: nh123 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 02:38:15 PM
อ่านตามอยู่ครับอาจารย์ ไม่ได้ตอบ ดูเพื่อนๆในชั้นตอบอยู่ครับ [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 01 มิถุนายน 2017, 03:01:39 PM
เส้น -2  มีเกน  -16.25 เท่า
เส้น -4  มีเกน  -15 เท่า 
เส้น -8  มีเกน   -16 เท่า
เส้น -10  มีเกน  -15.5 เท่า

ผมมาคิด ๆ ดูว่าเกนการขยายของแรงดันในแต่ละจุดที่เปลี่ยนไปมันไม่ค่อยจะเท่ากันเลยครับ 
ผมคิดว่ามันมีผลต่อการเลือกจุด Q point ในส่วนของการขยายสัญญาณทั้งซีกบวกและซีกลบแน่นอนเลย

แล้วจะเลือกอย่างไรดีครับเนี๊ย  [dizzy-smiley]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: chiko ที่ 01 มิถุนายน 2017, 03:09:49 PM
ตามอ่านตลอดครับ แอบคิดนอกห้องครับ  [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 04:20:36 PM
เส้น -2  มีเกน  -16.25 เท่า
เส้น -4  มีเกน  -15 เท่า 
เส้น -8  มีเกน   -16 เท่า
เส้น -10  มีเกน  -15.5 เท่า

ผมมาคิด ๆ ดูว่าเกนการขยายของแรงดันในแต่ละจุดที่เปลี่ยนไปมันไม่ค่อยจะเท่ากันเลยครับ 
ผมคิดว่ามันมีผลต่อการเลือกจุด Q point ในส่วนของการขยายสัญญาณทั้งซีกบวกและซีกลบแน่นอนเลย

แล้วจะเลือกอย่างไรดีครับเนี๊ย  [dizzy-smiley]

คำถามนี้ดีมากครับ จริงๆว่าจะอธิบายทีหลัง แต่ถามก่อนก็อธิบายได้ก่อนเลย

สิ่งที่เราต้องการในวงจรขยายทั้งหลายคือคุณสมบัติความเป็นเชิงเส้น หรือ Linearity วงจรที่ Linearity สูง คือวงจรที่มีอัตราขยายเท่ากันตลอดไม่ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม (ร้อน เย็น ชื้น ฯลฯ) หรือคุณสมบัติของสัญญาณ (ความถี่, ความแรง) เช่น ถ้าวงจรมีอัตราขยาย 5 ถ้าใส่สัญญาณ 1V ก็ต้องออก 10V ไม่ว่าจะร้อน เย็น ความถี่สูง ความถี่ต่ำ ฯลฯ

แต่สิ่งที่เราเห็นจากการคำนวนอัตราขยายด้วย loadline คือมันไม่เท่ากันเสมอไป ถ้าเปลี่ยนจุด bias เปลี่ยน loadline ไป Linearity ก็เปลี่ยนไปด้วย ความไม่เป็น Linear นี้จะทำให้เกิดความเพี้ยน หรือ distortion ซึ่งเรื่อง distortion เดี๋ยวจะคุยกันทีหลังครับ

ส่วนวิธีเลือกจุด Bias นั้นปกติก็ใช้วิธีทดลองไปเรื่อยๆครับ ในกรณีที่ไม่มีเครื่องมือวัด distortion เราก็ใช้วิธีคำนวนในกระดาษเทียบกันหลายๆจุดครับ

อย่างไรก็ตาม การรับรู้ของมนุษย์นั้นกลับไม่ Linear แต่เป็น logarithmic ถ้าใครสนใจลองศึกษาเพิ่มเติมได้ทีนี่ครับ https://en.wikipedia.org/wiki/Weber%E2%80%93Fechner_law ซึ่งหูได้ยินเสียงแล้วสมองแปลความหมายใน scale ที่เป็น log ไม่ใช่ linear ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเอาเครื่องกำเนิดสัญญาณที่มีขนาด 1V peak to peak (1Vpp) ต่อกับลำโพง แล้วเร่งสัญญาณให้เป็น 2Vpp เราจะได้ยินเสียงต่างกันเพียงนิดเดียว สัญญาณ 2Vpp ไม่ได้ดังเป็น 2 เท่าของ 1Vpp

เพราะฉนั้นตอนนี้อย่าเพิ่งกังวลว่ามันจะไม่เท่ากันในระดับทศนิยมครับ เราต้องการ Linearity ในวงจรก็จริง แต่อัตราขยายด้านบนกับด้านล่างต่างกันในระดับ 5% ถือว่าน้อยมาก

แต่ในวงจรหนึ่งไม่ได้มีภาคขยายแค่ภาคเดียว ถ้ามีหลายๆภาค ความไม่เป็น Linear ในแต่ละภาคจะรวมกันไปเรื่อยๆ จนถึงจุดที่เราเริ่มฟังออกก็เป็นไปได้เช่นกันครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 01 มิถุนายน 2017, 04:36:04 PM
สอบถามครับ ว่าถ้าเราเปลี่ยน Load line เป็นค่าอื่นๆ

เพื่อหาว่าค่าใหนให้ความเป็น Linear ดีสุด ได้หรือไม่ครับอาจารย์

ผมกำลังคิดว่าจะลองหา Load line ที่ 25kOhm ดู เปรียบเทียบกับ 27kOhm ดูครับ  [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 04:52:12 PM
สอบถามครับ ว่าถ้าเราเปลี่ยน Load line เป็นค่าอื่นๆ

เพื่อหาว่าค่าใหนให้ความเป็น Linear ดีสุด ได้หรือไม่ครับอาจารย์

ผมกำลังคิดว่าจะลองหา Load line ที่ 25kOhm ดู เปรียบเทียบกับ 27kOhm ดูครับ  [fb-smiling]

ได้ครับ ลองเปลี่ยน loadlline เป็น 25k กับ 47k โดยใช้จุด bias เดิมดูครับ
เมื่อเปลี่ยนแล้ว ให้หาค่า B+ ใหม่ด้วยนะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 01 มิถุนายน 2017, 04:57:20 PM
ส่วนเพื่อนๆคนอื่นๆ มีโจทย์ให้ทดลองหา gain ของวงจรแบบที่เป็นตัวอย่างที่ผมใช้ 6SN7 โดยเปลี่ยนหลอดไปตามนี้ครับ

หลอดแรก 6DJ8 หลอด ยอดนิยม
ลองหาจุด bias เองดูนะครับ เลือกเอาตามความพอใจ
ใช้ loadline สองค่า 10Kohm และ 20Kohm ตีเส้น loadline เทียบกันใน plate curve เดียวกันนะครับ
(https://www.dropbox.com/s/g4elpfak56i73jd/6DJ8.PNG?raw=1)

หลอดถัดไป 5687
เลือกจุด bias ตามใจเช่นกัน loadline 5Kohm และ 10Kohm
(https://www.dropbox.com/s/b1g7xvx1ybumlo7/5687.PNG?raw=1)

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 01 มิถุนายน 2017, 05:52:10 PM
B+ = กระแสผ่าน R (8 mA) * 25,000 Ohm + 200 V (Plate V)
     = 200+200
     = 400 V

วาดเส้น loadline 25K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 40V เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก
Ia = V/RL
Ia = 40V / 25Kohm
Ia = 0.0016 = 1.6mA

(http://upic.me/i/n3/6sn7gtb-1.png) (http://upic.me/show/60912375)

      
Va ที่จุด A, B, C และ D               =       175          140       235       260
                  
โวลต์ต่างกัน ที่จุด A, B, C และ D   =    175-200   140-200   235-200   260-200
โดยมีการกำหนดโวลต์ที่กริด Grid V  =        2                4            -2         -4
Gain = Vout(plate) / Vin(grid)  =     -12.5         -15         -17.5           -15

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 01 มิถุนายน 2017, 05:54:29 PM
Load line 47k ขอติดไว้พรุ่งนี้นะครับอาจารย์ ส่งการบ้าน 25kOhm ก่อนครับ ถ้าถูกค่อยไปต่อ  [0002053E] ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 01 มิถุนายน 2017, 09:56:54 PM
ขอลองหาหลอด 5687 ครับอาจารย์
(http://upic.me/i/6x/45687.jpg)

(http://upic.me/i/j0/18891731_1911200505834782_3102770485307085102_o.jpg)

เท่าที่เข้าใจเมื่อเปลี่ยน RL แล้วจะทำให้ B+ เปลี่ยนครับ และ gain ก็เปลี่ยนด้วยครับเท่าที่เข้าใจครับอาจารย์ผิดถูกช่วยแนะนำด้วยครับ [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 01 มิถุนายน 2017, 10:06:21 PM
ขอถามครับอาจารย์แล้ว RL มีวิธีเลือกไหมครับ ประมาณค่าที่เหมาะสมหรือต้องลองลากตามความพอใจครับ [what11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 02 มิถุนายน 2017, 09:01:52 AM
(http://upic.me/i/1o/6sn7gtb-247k.png) (http://upic.me/show/60914145)

ส่งการบ้านโหลดไลน์ ที่ 47kOhm ครับ

ลองเปลี่ยนใช้ Load line ที่ 47kOhm         
Vg = -6V         
Va = 200V (V plate จะใช้  Va เป็นสัญลักษณ์)         
Ia =  8mA (กระแสที่ไหลผ่านหลอด ใช้ Ia เป็นสัญลักษณ์)         
RL = 47Kohm (RL เป็นสัญลักษณ์ของ R plate load)         
B+ = 576V (บางครั้ง B+ ใช้ตัวย่อ HT มาจาก High Tension)         

ฺB+ คิดมาจาก = (8mA * 47000 Ohm)/1000 + 200(Plate Voltage) = 576 V

วาดเส้น loadline 47K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 40V เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก

Ia = Va diff/RL      
      
Ia = 40V / 47Kohm      0.00085106
Ia = 0.000851 ประมาณ 0.8mA   

Va ที่จุด A, B, C และ D               =       165          130       238       272
                 
โวลต์ต่างกัน ที่จุด A, B, C และ D   =    165-200   130-200   238-200   272-200
โดยมีการกำหนดโวลต์ที่กริด Grid V  =        2                4            -2         -4
Gain = Vout(plate) / Vin(grid)  =     -17.5         -17.5         -19           -18
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 02 มิถุนายน 2017, 09:58:24 AM
ทั้งคุณ akradech และคุณ atriam ทำได้ดีทั้งคู่ครับ  [huge-thumbs-up]
เดี๋ยวรอคนอื่นๆมาช่วยทำ 6DJ8 ก่อน แล้วจะมีบทสรุปของตรงนี้ บวกกับการดัดแปลงวงจรเพื่อให้ง่ายขึ้นครับ

ผมมี 6ES8 อีกหลอดนึงให้ลองทำครับ
(https://www.dropbox.com/s/i2usv646opvavx9/6ES8.PNG?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 02 มิถุนายน 2017, 11:42:34 PM
  สงสัยจะเหนื่อยจากงานกัน ส่งการช้านกันน้อยจังแฮะ   [look-for-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 09:55:05 AM
ไม่มีเวลาว่างเลยล่ะครับ..... [chick1]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 03 มิถุนายน 2017, 09:57:00 AM
นั่นสิครับ เงียบไปเลย อาทิตย์หน้ายังมีต่อนะครับ มีเรื่อง cathode bias, cathode follower และ input/output impedance ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:28:43 AM
 [fb-smiling]แต่กระผม อยากได้เป็นเอกสารหรือไฟล์ pdf.เลยตั้งแต่เริ่มหน้าแรก ทำไงดีรวมพวกรูปและคำถามคำตอบ หรือ รอให้เรียนจบก่อนดี
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:32:15 AM
เดี๋ยวช่วงบ่ายผมมาส่งครับอาจารย์ ช่วงเช้าผมมางานโรงเรียนลูกสาวครับ  [wink-11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:42:57 AM
Load line 10k

(https://www.uppic.org/image-FBA3_593232BC.jpg) (https://www.uppic.org/share-FBA3_593232BC.html)

gain ที่จุด A = (97.5-120)/1       = -22.5 เท่า
gain   จุด B = (120-142.5)/(-1) = -22.5 เท่า
gain   จุด C = (72.5-120)/2       = -23.75 เท่า
gain   จุด D = (120-162.5)/(-2) = -21.25 เท่า

ว๊ากกก....เพี้ยนไปแล้ว  [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:49:19 AM
   ไม่แยกสีหล่ะครับ ใช้สีเดียวดูแล้วตาลาย
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:50:36 AM
Load line 20k

(https://www.uppic.org/image-85D2_5932349E.jpg) (https://www.uppic.org/share-85D2_5932349E.html)

gain ที่จุด A = (92.5-120)/1       = -27.5 เท่า
gain   จุด B = (120-147.5)/(-1) = -27.5 เท่า
gain   จุด C = (66-120)/2          = -27 เท่า
gain   จุด D = (120-171)/(-2)    = -25.5 เท่า

ทำอย่างไรให้เพี้ยนน้อยลงดีน้อ.... [puzzled]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:51:41 AM
   ไม่แยกสีหล่ะครับ ใช้สีเดียวดูแล้วตาลาย

สับขาหลอก...กันเพื่อนลอกครับ  [yellow-lol]
ดูเอง งงเองเลยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:52:23 AM
[fb-smiling]แต่กระผม อยากได้เป็นเอกสารหรือไฟล์ pdf.เลยตั้งแต่เริ่มหน้าแรก ทำไงดีรวมพวกรูปและคำถามคำตอบ หรือ รอให้เรียนจบก่อนดี
ถ้าไม่ได้เรียน ไม่ได้ถาม  ไปตามอ่านเองก็งงเหมือนเดิมแหละ ขนาดมีคนป้อนยังไม่เข้าใจกันเลยครับ  ถ้าจะรอให้พร้อมทุกคน วันนั้นคงไม่มีใครมานั่งรอสอนแล้วหล่ะครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: kakamax ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:54:01 AM
 [fb-smiling]งง ต่อไปเรา
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:55:39 AM
   ไม่แยกสีหล่ะครับ ใช้สีเดียวดูแล้วตาลาย

สับขาหลอก...กันเพื่อนลอกครับ  [yellow-lol]
ดูเอง งงเองเลยครับ
ผมว่าหลายคนยังไม่รู้ว่า เส้น load line ที่เรียกกัน 10K  20K มีที่มา ที่ไปอย่างไร  จับน้าป๋อเป็นหนูทดลองเลยละกัน โชว์วิธีการหา เส้น load line ให้ดูหน่อยครับว่าเจ้าเส้นเอียงๆบนกราฟ มันมีที่มา ที่ไปอย่างไร เลือกกราฟตัวใดก็ได้มาตัวอย่างตัวนึง พร้อมการคำนวณด้วยนะครับ 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 10:59:52 AM
   ไม่แยกสีหล่ะครับ ใช้สีเดียวดูแล้วตาลาย

สับขาหลอก...กันเพื่อนลอกครับ  [yellow-lol]
ดูเอง งงเองเลยครับ
ผมว่าหลายคนยังไม่รู้ว่า เส้น load line ที่เรียกกัน 10K  20K มีที่มา ที่ไปอย่างไร  จับน้าป๋อเป็นหนูทดลองเลยละกัน โชว์วิธีการหา เส้น load line ให้ดูหน่อยครับว่าเจ้าเส้นเอียงๆบนกราฟ มันมีที่มา ที่ไปอย่างไร เลือกกราฟตัวใดก็ได้มาตัวอย่างตัวนึง พร้อมการคำนวณด้วยนะครับ 

จัดไปครับน้าเล็ก.....ขอเวลาแป๊บครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: ArtFish ที่ 03 มิถุนายน 2017, 11:11:44 AM
มาส่งการบ้านด้วยครับ

6dj8 Load line 10K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 100v
   Ia = 10mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (65-100)/1.5 = -23.3
B =  (90-100)/0.5 =  -20
C =  (110-100)/-0.5 = -20
D =  (135-100)/-1.5 = -23.3
......................................

6dj8 Load line 20K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 85v
   Ia = 5.5mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (45-85)/1.5 = -26.6
B =  (75-85)/0.5 = -20
C =  (95-85)/-0.5 = -20
D =  (125-85)/-1.5 = -26.6
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 11:14:04 AM
 เส้น load line ที่เรียกกัน 10K  20K หรือต่าง ๆ นอกเหนือจากนี้ สามารถหาได้จากกฏของโอห์มได้เลยครับคือ

R=V/I โดยที่ค่าความชันของเส้น โหลดไลน์นี้ได้มาจาก แรงดัน(เส้นแนวนอน) / กระแส (เส้นแนวตั้ง)

(https://www.uppic.org/image-FA1F_59323A12.jpg) (https://www.uppic.org/share-FA1F_59323A12.html)

ยกตัวอย่างง่าย ๆ เมื่อกำหนด แรงดันที่จะจ่ายให้วงจรที่ 200V  กำหนดกระแสสูงสุดของวงจรที่ 10mA
ก็จะได้ความชันของโหลดไลน์ที่ 200/10mA  = 20k 
โดยที่จุด Q pointก็จะวิ่งขึ้น-ลงไปตามเส้น โหลดนี่แหละครับ  อยู่ที่ว่าเราจะกำหนดที่จุดใด
ตามกฏของโอห์มอีกเช่นกัน ที่ แรงดันสูง กระแสก็จะต่ำ  เมื่อกระแสสูงแรงดันก็จะต่ำ เช่นเดียวกันครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 11:16:01 AM
มาส่งการบ้านด้วยครับ

6dj8 Load line 10K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 100v
   Ia = 10mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (65-100)/1.5 = -23.3
B =  (90-100)/0.5 =  -20
C =  (110-100)/-0.5 = -20
D =  (135-100)/-1.5 = -23.3
......................................

6dj8 Load line 20K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 85v
   Ia = 5.5mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (45-85)/1.5 = -26.6
B =  (75-85)/0.5 = -20
C =  (95-85)/-0.5 = -20
D =  (125-85)/-1.5 = -26.6

สุดยอดเลยครับ จุดไบอัสสวยงาม ได้เกนขยายเท่ากันเลยครับ  [huge-thumbs-up]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: ArtFish ที่ 03 มิถุนายน 2017, 11:21:32 AM
มาส่งการบ้านด้วยครับ

6dj8 Load line 10K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 100v
   Ia = 10mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (65-100)/1.5 = -23.3
B =  (90-100)/0.5 =  -20
C =  (110-100)/-0.5 = -20
D =  (135-100)/-1.5 = -23.3
......................................

6dj8 Load line 20K
PD = 1.8w
Q Point
   Va = 85v
   Ia = 5.5mA
   Vg = -2v
   B+ = 200v
   

Gain Point
A =  (45-85)/1.5 = -26.6
B =  (75-85)/0.5 = -20
C =  (95-85)/-0.5 = -20
D =  (125-85)/-1.5 = -26.6

สุดยอดเลยครับ จุดไบอัสสวยงาม ได้เกนขยายเท่ากันเลยครับ  [huge-thumbs-up]
บางจุดเส้นมันเอียงๆ ผมก็เมคตัวเลขให้มันสวยๆไปก่อนครับอาจไม่ตรงหรอก 555
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 11:41:07 AM
เส้น load line ที่เรียกกัน 10K  20K หรือต่าง ๆ นอกเหนือจากนี้ สามารถหาได้จากกฏของโอห์มได้เลยครับคือ

R=V/I โดยที่ค่าความชันของเส้น โหลดไลน์นี้ได้มาจาก แรงดัน(เส้นแนวนอน) / กระแส (เส้นแนวตั้ง)

([url]https://www.uppic.org/image-FA1F_59323A12.jpg[/url]) ([url]https://www.uppic.org/share-FA1F_59323A12.html[/url])

ยกตัวอย่างง่าย ๆ เมื่อกำหนด แรงดันที่จะจ่ายให้วงจรที่ 200V  กำหนดกระแสสูงสุดของวงจรที่ 10mA
ก็จะได้ความชันของโหลดไลน์ที่ 200/10mA  = 20k 
โดยที่จุด Q pointก็จะวิ่งขึ้น-ลงไปตามเส้น โหลดนี่แหละครับ  อยู่ที่ว่าเราจะกำหนดที่จุดใด
ตามกฏของโอห์มอีกเช่นกัน ที่ แรงดันสูง กระแสก็จะต่ำ  เมื่อกระแสสูงแรงดันก็จะต่ำ เช่นเดียวกันครับ


   แล้วรูปนี้ เส้นบนกราฟมีความชัน ?

(http://upic.me/i/xc/75687.jpg) (http://upic.me/show/60918979)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 12:19:58 PM
จะตอบว่าไงดีนะเนี๊ย.....

9k  หรือ 9.33k  ดีครับ [what11]

ผมเล่นง่าย ๆ คือลากเส้นทับไปเลยครับ  ขอความรู้ด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 12:28:25 PM
   ความจริง Aj. Karin เขียนไว้แล้วในโพสแรกๆของเรื่อง load line ครับ ลองสังเกตดีๆ 


(http://upic.me/i/rs/k5687.jpg) (http://upic.me/show/60919118)


voltage เปลี่ยนไป 140V, กระแสเปลี่ยนไป 15mA จะได้ loadline เท่ากับ 140V/15mA = 9.3 Kohm
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 01:29:43 PM
ขอบคุณคร้าบบบบ  [enjoyment]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:02:49 PM
มาส่งการบ้าน 6DJ8 ครับ

(http://upic.me/i/h6/6dj8-2.png) (http://upic.me/show/60919319)

Load line ที่ 10kOhm

วาดเส้น Loadline 10K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 20V
เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก

Ia = Va diff/RL
Ia = 20V / 10Kohm
Ia = 0.002 ประมาณ 2mA

Vg = -3V
Va = 130V (V plate จะใช้  Va เป็นสัญลักษณ์)
Ia =  2mA (กระแสที่ไหลผ่านหลอด ใช้ Ia เป็นสัญลักษณ์)
RL = 10Kohm (RL เป็นสัญลักษณ์ของ R plate load)
B+ = 150V (บางครั้ง B+ ใช้ตัวย่อ HT มาจาก High Tension)
     = (2*10000)/1000 + 130

                                        A (1V)     B (2V)     C (-1V)     D (-2V)
Va ที่จุด A, B, C และ D            106           81           155          176
                  
                             Diff       106-130     81-130   155-130   176-130
                            Grid V        1              2             -1           -2
Gain = Vout(plate) / Vin(grid)  -24        -24.5          -25           -23

[chick2]

Load line ที่ 20kOhm

วาดเส้น Loadline 20K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 20V    
เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก   
   
Ia = Va diff/RL   
Ia = 20V / 20Kohm   
Ia = 0.001 ประมาณ 1mA   

Vg = -3V
Va = 130V (V plate จะใช้  Va เป็นสัญลักษณ์)
Ia =  2mA (กระแสที่ไหลผ่านหลอด ใช้ Ia เป็นสัญลักษณ์)
RL = 20Kohm (RL เป็นสัญลักษณ์ของ R plate load)
B+ = 170V (บางครั้ง B+ ใช้ตัวย่อ HT มาจาก High Tension)
     = (2*20000)/1000 + 130

                                                  A (1V)   B (2V)   C (-1V)   D (-2V)
Va ที่จุด A, B, C และ D                       104      75           158         184
                  
                                     Diff      104-130   75-130   158-130   184-130
                              Grid V            1                 2           -1            -2
Gain = Vout(plate) / Vin(grid)       -26          -27.5        -28          -27


หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:12:05 PM
 แจ่มครับ น้าเดช   [chick-clap]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:17:45 PM
ขอบคุณครับพี่เล็ก  [0002053E]

กำลังคลำทางหลอด 6ES8 อยู่เลยครับ ไม่เคยเห็นกราฟแบบนี้มาก่อน  [chick-confuse]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:24:34 PM
   [yellow-lol]   แล้วถ้าเป็น ecc189 ล่ะ  กราฟไตรโอดไม่ยากหรอกครับ ใช้หลักการ และพื้นฐานเดียวกันหมด
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:48:07 PM
มาที่หลอด 6ES8 ซึ่งผมว่ากราฟการตอบสนองแปลกๆ ครับ

(http://upic.me/i/5p/6es8-1.png) (http://upic.me/show/60919576)

ใช้ Load line ที่ 2kOhm

จากเส้น Loadline 2K ohm โดยเมื่อ voltage เปลี่ยนไป 16V
เราสามารถหากระแสที่เปลี่ยนแปลงได้จาก

Ia = Va diff/RL
Ia = 16V / 2Kohm
Ia = 0.008 ประมาณ 8mA

Vg = -3V
Va = 96V (V plate จะใช้  Va เป็นสัญลักษณ์)
Ia =  2mA (กระแสที่ไหลผ่านหลอด ใช้ Ia เป็นสัญลักษณ์)
RL = 2Kohm (RL เป็นสัญลักษณ์ของ R plate load)
B+ = 100V (บางครั้ง B+ ใช้ตัวย่อ HT มาจาก High Tension)
     = (2*2000)/1000 + 96


(http://upic.me/i/fy/result.png) (http://upic.me/show/60919582)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 มิถุนายน 2017, 02:50:40 PM
 [chick-confuse] การตอบสนอง เป๋ไปข้างนึง งงเลยผม
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 03:35:29 PM
[chick-confuse] การตอบสนอง เป๋ไปข้างนึง งงเลยผม
ตรงนี้อาจารย์เค้าอยากให้เข้าใจในหลักการมากกว่าครับ  ถ้าอยากลองอยากให้มองนอกกรอบ  ตัวอย่างเช่น ขีดเส้น Vg -2.5 ขึ้นมาอีกเส้น   มองผ่านกราฟให้ทะลุ แล้วไปคุมสเป็คให้อยู่ภายใต้ดาต้าชีส  Va  Ia  Pd
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 03 มิถุนายน 2017, 04:16:21 PM
ลองดูมั่งครับ ผมใช้ 7.5k ครับ

(https://www.uppic.org/image-3850_59327FC6.jpg) (https://www.uppic.org/share-3850_59327FC6.html)

Q point 95V 6mA
gain ที่จุด A = (88-95)/0.5       = -14 เท่า
gain   จุด B = (102-95)/(-0.5) = -14 เท่า
gain   จุด C = (80-95)/1          = -15 เท่า
gain   จุด D = (110-95)/(-1)    = -15 เท่า

 พอไหวมั้ยครับ  [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: RuNgPuEnGⓇ ที่ 03 มิถุนายน 2017, 09:59:12 PM
[fb-smiling]งง ต่อไปเรา

ไม่ถนัด ใช้โประแกรมคอม ปริ้นท์ใส่กระดาษใช้ปากกาลากครับ  [huge-thumbs-up] ถ้าได้ลองทำจะเข้าใจ มากยิ่งขึ้น
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 05 มิถุนายน 2017, 12:16:47 PM
ขอบคุณคุณเล็กกับคุณรุ่งมากๆครับที่ช่วยเพื่อนๆให้เข้าใจการคำนวน ถึงตรงนี้ผมสรุปการลาก loadline ได้ดังนี้ครับ
คำถามถัดไปคือ ถ้าเราต้องการได้ผลลัพธ์ที่มี distortion ต่ำ (ให้หลอดทำงานได้ linear มาก) ทำไมเราไม่ให้ RL มีค่าสูงๆ ซัก 1M ไปเลย?  [what11]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 05 มิถุนายน 2017, 12:50:57 PM
 [0002053E] ขอบคุณครับอาจารย์

ผมกลับไปอ่านใน datasheet 6ES8 เจอตามที่อาจารย์แจ้งไว้ว่าหลอดนี้ไม่เหมาะใช้ทาง audio จริงๆด้วยครับ

(http://upic.me/i/3j/semi-remotecutoff6es8.png) (http://upic.me/show/60928589)

ส่วนคำถามว่าทำไมไม่เลือก RL ค่าสูงๆ มาใช้ ขอตอบว่ายิ่งเลือกค่า RL สูงเท่าไร ยิ่งต้องใช้ B+ สูงขึ้นครับ

ทำให้ต้องจ่ายค่าหม้อไฟแพงขึ้นตามไปด้วย  และถ้าหม้อไฟค่าโวลต์สูงๆ อาจมีปัญหาเรื่องความปลอดภัยอีกอย่างด้วย

จากสูตร

                              B+ = ( Ia * RL ) + PlateVoltage

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 05 มิถุนายน 2017, 02:35:19 PM
   มันก็ขึ้นอยู่กับหลอด และ ความเหมาะสม หนึ่งในนั้นก็ที่ น้าเดชได้ตอบไป  แต่ถ้าต้องการให้ RL สูง การใช้ Active load ก็เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่สามารถกระทำได้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 05 มิถุนายน 2017, 03:39:26 PM
เดี่ยวถึงเรือง cathode follower แล้วจะแถมการคำนวน mu-follower ให้ด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 05 มิถุนายน 2017, 08:56:51 PM
เรื่องพวกนี้ถ้าอยากศึกษามีแต่ภาษาอังกิดคนอ่อนภาษายากที่จะเข้าใจรออ่านครับอาจารย์ ขอบคุณครับ [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 07 มิถุนายน 2017, 05:21:11 PM
เรื่องต่อไปเป็นการทำ cathode bias ครับ หลังจากทดลองออกแบบวงจรที่ใช้ fixed bias ที่เราเอาไฟลบไปจ่อที่ grid ผ่าน grid resistor แล้ว จะเห็นว่าถ้าในวงจรมีหลอดหลายหลอด ก็ต้องมีชุดจ่ายไฟลบหลายชุด อาจะใช้ร่วมกันได้บ้าง แต่ไม่สะดวกแน่ๆ ดังนั้น cathode bias จะมาช่วยเราได้ครับ

หลักการของ cathode bias ก็ตรงตามชื่อครับ คือ เอาไฟจาก cathode มา bias หลอด แทนที่จะใช้วิธีต่อไฟลบที่ grid

การทำงานของหลอดจะถูกกำหนดด้วยแรงดันเทียบกันระหว่าง grid กับ cathode สัญลักษณ์ของแรงดันระหว่าง grid กับ cathode คือ Vgk ถ้าเราให้ Vg เป็น 0 และใส่ resistor เข้าไปที่ cathode เมื่อมีกระแส Ia ไหลผ่าน plate ลงมาที่ cathode จนถง resistor จะมี voltage เกิดขึ้น เพราะฉนั้น

Vgk = Vg - Vk

เมื่อ Vg เป็น 0 ดังนั้น Vgk = -Vk

รูปแบบวงจรก็จะเป็นแบบข้างล่างนี้ครับ เราสามารถเลือก Rk ได้จากสูตร

Rk = Vk / Ia

(https://www.dropbox.com/s/hyicd44ydflux17/cathode%20bias.jpg?raw=1)

โดยเรากำหนด Vk ได้ตามต้องการ



หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 07 มิถุนายน 2017, 05:21:47 PM
ตัวอย่าง ต้องการ bias หลอด 6DJ8 ที่ 145V, Ia 5mA , grid bias -4V โดยใช้ RL (loadline) 10K จะใช้วิธีคำนวนตามนี้
(https://www.dropbox.com/s/g4elpfak56i73jd/6DJ8.PNG?raw=1)


ตามรูปด้านล่าง เราคำนวนค่า voltage คร่อม RL เท่ากับ 10Kohm x 5mA หรือ
10,000 ohm x 0.005A = 50V

และ Rk = Vk / Ia โดยแทนค่า Vk = 4V และ Ia = 5mA (0.005A)
จะได้ Rk = 800 ohm

ส่วน B+ หรือ HT ได้จาก
B+ = VRL + Vak + Vk
B+ = 50V + 145V +4V
      = 199V

ถึงแม้ว่าเราจะให้ Vg เป็น 0 เราไม่สามารถต่อ grid ลง ground ได้ตรงๆ เพราะสัญญาณที่ส่งเข้ามาก็จะถูกส่งลง ground หมด ดังนั้น เราพต้องมี Rg มีไว้เป็น load สำหรับให้ภาคขยายที่อยู่ด้านหน้าอีกทีครับ

แต่ยังไม่จบ!!! เพราะจำได้ไม๊ครับว่าเมื่อมีสัญญาณเข้ามา กระแสที่เปลี่ยนแปลงไปของหลอด (Ia) ทำให้ voltage ตกคร่อม RL เปลี่ยนไปด้วย ดังนั้น voltage ตกคร่อม Rk ก็จะเปลี่ยนแปลงไปตาม Ia ด้วย ทำให้จุด bias เปลี่ยนไปมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่ดีแน่ๆ

วิธีแก้ไขก็คือใส่ bypass capacitor (Ck) คร่อม Rk เข้าไป โดย bypass capacitor นั้นจะส่งผ่าน (bypass) สัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงลงสู่ ground ไป ทำให้ voltage ตกคร่อม Rk นั้นคงที่อยู่ตลอดเวลา ตอนนี้ผมใช้ค่า 100uF ไปก่อน แต่เดี๋ยวจะมีวิธีการคำนวนค่า Ck ด้วยครับ ในเรื่อง input output impedance

(https://www.dropbox.com/s/swsjlqpnm7x9nj2/6DJ8%20cathode%20bias.jpg?raw=1)

ถึงตรงนี้ ใครมีอะไรสงสัยก็สอบถามได้นะครับ หรือจะทดลองออกแบบเองซัก 2-3 แบบผึกหัดก็ได้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 07 มิถุนายน 2017, 05:25:02 PM
หลอดแรกเป็นหลอดที่ผมชอบมากๆ  6N1P ใช้ loadline ประมาณ 15K จุด bias ตามใจชอบ
(https://www.dropbox.com/s/9ijunpx1vsyy3q8/6N1P.PNG?raw=1)

หลอดถัดไปเอาอันนี้เลย 2A3 เผื่อใครอยากจะทำ preamp 2A3 แนะนำ loadline 4-5K, Ia ประมาณ 30-50mA เลือกจุด bias ตามใจชอบ
(https://www.dropbox.com/s/jcn9iyztr3va41u/2A3.PNG?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 07 มิถุนายน 2017, 11:05:05 PM
ส่วน B+ หรือ HT ได้จาก
B+ = VRL + Vak + Vk
B+ = 50V + 145V +4V
      = 194V


 B+ = 199V   ครับ Aj Karin
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 07 มิถุนายน 2017, 11:35:45 PM
"และ Rk = Vk / Ia โดยแทนค่า Vk = 4V และ Ia = 5mA (0.005A)"

Vk คือ grid bias หรือเปล่าครับอาจารย์เห็นเลขในตัวอย่างไม่ตรงกันครับ

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 07 มิถุนายน 2017, 11:42:04 PM
ขอลองออกแบบหลอด 2a3 ครับ
เลือกจุด bias
(http://upic.me/i/b7/lw2a3.jpg)

คำนวณ
(http://upic.me/i/nv/19054951_1914814468806719_650284326589749059_o.jpg)

ปล. gain ประมาณ 3.x ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 07 มิถุนายน 2017, 11:51:22 PM
อาจารย์ครับขอถาม ถ้าเราเอาหลอด power มาออกแบบเป็นปรี
- สัญญาณที่เข้ากริตมันสวิงนิดเดียวแต่หลอดใช้แรงดันกับกระแสเยาะมันจะมีผลเกี่ยวกับสัญญาณรบกวนมากกว่าพวกหลอดปรีโดยเฉาะไหมครับ
- แล้วข้อดีของการเอาหลอด power มาทำเป็นปรีคืออะไรครับ


คำถามเรื่อง cathode bias
- ถ้าเอาสัญญาณตรง Vk ออกไปใช้เฟสจะกลับใช้ไหมครับ
- ถ้าเอาสัญญาณตรง Vk ออกไปใช้ห้ามใส่ Ck ใช่ไหมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 08 มิถุนายน 2017, 06:56:41 AM
ส่วน B+ หรือ HT ได้จาก
B+ = VRL + Vak + Vk
B+ = 50V + 145V +4V
      = 194V


 B+ = 199V   ครับ Aj Karin

ขอบคุณคุณเล็กที่ชี้จุดผิดให้ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 08 มิถุนายน 2017, 08:23:20 AM
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
จากรูปคำตอบ คุณ atriam ลืมใส่ cathode bypass capacitor นะครับ


อาจารย์ครับขอถาม ถ้าเราเอาหลอด power มาออกแบบเป็นปรี
- สัญญาณที่เข้ากริตมันสวิงนิดเดียวแต่หลอดใช้แรงดันกับกระแสเยาะมันจะมีผลเกี่ยวกับสัญญาณรบกวนมากกว่าพวกหลอดปรีโดยเฉาะไหมครับ
คุณสมบัติที่ว่ามา แสดงว่าหลอดมี gain (ใน plate curve เรียก Amplification Factor)
แต่ถ้าดูดีๆ หลอด 2A3 gain ต่ำมากนะครับ เพราะเส้นห่างระหว่าง grid อยู่ในระดับ 10V เทียบกับหลอด 6SN7 อยู่ในระดับ 1V
หลอด power ที่ gain มากๆ เป็นหลอด pentode หรือ hi-mu power triode ที่ plate resistance (หรือ impedance) สูงมากครับ
หลอด gain มาก ก็มักจะมีสัญญาณรบกวนมากขึ้นตามไปด้วยครับ

อ้างถึง
- แล้วข้อดีของการเอาหลอด power มาทำเป็นปรีคืออะไรครับ
ข้อดีคือหลอดพวกนี้มักจะมี plate resistance ต่ำ ทำให้ output impedance ของวงจรต่ำไปด้วยครับ รายละเอียดตรงนี้ขอยกไปเป็นอีกหัวข้อนึงเลยครับ
ส่วนด้านคุณภาพเสียง หลอด power ให้เสียงที่ต่างออกไปจากหลอดเล็กพอสมควรครับ บางคนชอบ แต่บางคนอาจจะไม่ชอบ
ข้อเสียที่ชัดเจนคือ หลอด power บางหลอดมี input capacitance สูงมาก ถ้าใช้งานกับพวก  CD ที่มี output เป็น solid state ไม่ค่อยมีปัญหา แต่ถ้าไปใช้งานกับ phono ที่มีหลอดเป็น output และไม่มีพวก buffer ตัว phono อาจจะขับไม่ออกครับ

อ้างถึง
คำถามเรื่อง cathode bias
- ถ้าเอาสัญญาณตรง Vk ออกไปใช้เฟสจะกลับใช้ไหมครับ
สัญญาณจะตรง phase เมื่อเทียบกับ Vg ครับ
อ้างถึง
- ถ้าเอาสัญญาณตรง Vk ออกไปใช้ห้ามใส่ Ck ใช่ไหมครับ
ใช่ครับ คำถามทั้งสองข้อ จะอธิบายละเอียดขึ้นในหัวข้อ cathode follower ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 08 มิถุนายน 2017, 09:17:11 AM
ขอบคุณที่ช่วยอธิบายครับอาจารย์ [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 08 มิถุนายน 2017, 09:21:00 AM
"และ Rk = Vk / Ia โดยแทนค่า Vk = 4V และ Ia = 5mA (0.005A)"

Vk คือ grid bias หรือเปล่าครับอาจารย์เห็นเลขในตัวอย่างไม่ตรงกันครับ

อีกหนึ่งคำถามครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 08 มิถุนายน 2017, 09:51:25 AM
"และ Rk = Vk / Ia โดยแทนค่า Vk = 4V และ Ia = 5mA (0.005A)"

Vk คือ grid bias หรือเปล่าครับอาจารย์เห็นเลขในตัวอย่างไม่ตรงกันครับ

Vk คือ cathode bias ครับ ครั้งแรกผมจะใช้ที 3.5V แต่เปลี่ยนใจเป็น 4V แล้วลืมแก้ไข ขอบคุณที่ชี้ข้อผิดพลาดให้อีกจุดครับ เดี๋ยวจะแก้ไขครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 09:54:14 AM
"และ Rk = Vk / Ia โดยแทนค่า Vk = 4V และ Ia = 5mA (0.005A)"

Vk คือ grid bias หรือเปล่าครับอาจารย์เห็นเลขในตัวอย่างไม่ตรงกันครับ

Vk คือ cathode bias ครับ ครั้งแรกผมจะใช้ที 3.5V แต่เปลี่ยนใจเป็น 4V แล้วลืมแก้ไข ขอบคุณที่ชี้ข้อผิดพลาดให้อีกจุดครับ เดี๋ยวจะแก้ไขครับ

เมื่อวานตอนเย็นว่าจะถามเหมือนกันครับ แต่ไม่มีเวลาว่างเลยลืมไปซ่ะ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 12:23:32 PM
(https://www.uppic.org/image-9ACF_5938D85A.jpg) (https://www.uppic.org/share-9ACF_5938D85A.html)

อัดหลอดให้น่วมเลยครับ

+B       = 370V
VPlate  = 250V
Vk        = 4V
I           = 8mA

RP             = 15k
Rk = Vk/I  = 500 ohm

PD 2.2W  ผมอัดไป  (250-4)*8 mA = 1.968W  [yellow-lol]

หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 08 มิถุนายน 2017, 12:34:28 PM


  Dissipation ที่เกิดขึ้นกับ Rk ?
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 12:35:09 PM

หลอดถัดไปเอาอันนี้เลย 2A3 เผื่อใครอยากจะทำ preamp 2A3 แนะนำ loadline 4-5K, Ia ประมาณ 30-50mA เลือกจุด bias ตามใจชอบ
(https://www.dropbox.com/s/jcn9iyztr3va41u/2A3.PNG?raw=1)

ขอถามเป็นความรู้หน่อยครับ ว่าทำไมอาจารย์ถึงแนะนำ loadline 4-5k เหรอครับ
เพราะเท่าที่ผมเห็นมา ปกติจะใช้ประมาณ 2.5k ครับ  ขอความรู้ด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 12:37:02 PM


  Dissipation ที่เกิดขึ้นกับ Rk ?

8mA * 4V  = 0.032W  ถูกมั้ยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 08 มิถุนายน 2017, 12:38:07 PM
  ลากเปรียบเทียบกันดูดิครับ  บางครั้งเราก็เลือกความละเอียดอ่อนมากกว่าพละกำลัง  [wink-12]

(http://s32.postimg.org/t5fqheo6t/2a3_ec88_ha.gif)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 08 มิถุนายน 2017, 01:04:28 PM
ใช่ครับ  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] ลองเทียบกันเลย

เรื่องถัดไปจะเป็น input/output impedance และการเลือก loadline ที่เหมาะสมครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 02:03:28 PM
  ลากเปรียบเทียบกันดูดิครับ  บางครั้งเราก็เลือกความละเอียดอ่อนมากกว่าพละกำลัง  [wink-12]

([url]http://s32.postimg.org/t5fqheo6t/2a3_ec88_ha.gif[/url])


ผมลองลาดูครับ

(https://www.uppic.org/image-7DA6_5938F955.jpg) (https://www.uppic.org/share-7DA6_5938F955.html)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 02:09:06 PM
ใช่ครับ  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] ลองเทียบกันเลย

เรื่องถัดไปจะเป็น input/output impedance และการเลือก loadline ที่เหมาะสมครับ

กราฟของ 6N1P มันไม่ค่อยละเอียดน่ะครับ ผมเลยเลือกที่มันดูง่าย ๆ เอาครับ 
แต่ถ้าผมจะเลือกใช้งานจริงก็คงรันไฟที่เพลทอยู่ประมาณ 100 โวลท์กว่า ๆ น่ะครับ 
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 08 มิถุนายน 2017, 02:32:57 PM
(https://www.uppic.org/image-D03D_59390020.jpg) (https://www.uppic.org/share-D03D_59390020.html)

Vgrid ไม่ละเอียดนี่ผมไม่ชอบเลยครับ  หาเส้นสวย ๆ ยาก
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 16 มิถุนายน 2017, 12:31:46 PM
ตั้งใจรอเรียนครับอาจารย์ [fb-smiling]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: MAX ที่ 19 มิถุนายน 2017, 12:15:58 PM
รอเรียนต่อครับอาจารย์  [YL76]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 19 มิถุนายน 2017, 01:28:01 PM
 [0002053E] ขอโทษที่ update ช้าครับช่วงนี้ กำลังเรียบเรียงเนื้อหาอยู่ครับ

เรื่องถัดไปเป็นเรื่อง input/output impedance ที่เราสามารถนำหลักการนี้ไปใช้กับการคำนวน gain ของวงจรแบบคร่าวๆได้ด้วยครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 03 กรกฎาคม 2017, 02:31:36 PM
Input & Output impedance

ก่อนอื่นเริ่มจากพื้นฐานก่อน ความต้านทานมีสองแบบครับ แบบแรกคือความต้านทานไฟ DC เรียก Resistance ส่วนความต้านทานไฟ AC เรียก Impdance ซึ่งบางครั้งเราเรียกรวมๆว่า Impedance ครับ ตัว Resistor ที่เราใช้ๆกันมีค่าความต้านทานที่ใช้สำหรับไฟ DC แต่จริงๆแล้วมันสามารถใช้กับไฟ AC ได้ด้วย เพราะความต้านทานของ resistor นั้นไม่เปลี่ยนไปมากเมื่อใช้งานกับไฟ AC ที่มีความถี่ไม่สูงมากนัก อย่างไรก็ตาม การคำนวน voltage drop ของไฟ AC จะต่างกับไฟ DC ซึ่งผมไม่ลงรายละเอียดตอนนี้ เพราะเดี๋ยวจะสับสน

Capacitor (C) กับ Inductor (L) เป็นอุปกรณ์ที่ impedance ของมันเปลี่ยนไปตามความถี่ของสัญญาณไฟฟ้าที่ผ่านตัวมัน สูตรการคำนวน impedance ของ C กับ L ผมจะบอกทีหลังนะครับ หรือจะลองหาจาก Google ก่อนก็ได้

Input และ Output impdeance มีความสำคัญอย่างไร?
วงจรที่เราเขียนกันในอุดมคตินั้น จริงๆแล้วเราละรายละเอียดบางอย่างใว้ในฐานที่เข้าใจ เช่น แหลงจ่ายไฟ voltage source นั้น ปกติจะมีความต้านทานภายในอยู่ด้วย  แต่น้อยมาก แต่ในความเป็นจริง voltage source ก็มีความต้านฐานภายใน รุปด้านล่างนี้เป็นภาพเปรียบเทียบระหว่าง voltage source ในอุดมคติ กับ voltage source ที่เป็นความจริง

และเมื่อ voltage source ต่อกับ load ก็จะมีหน้าตาแบบนี้ (credit ภาพจาก http://www.electronics-tutorials.ws (http://www.electronics-tutorials.ws))
(https://www.dropbox.com/s/hmbb0sj20h3u9a1/Voltage-Ro-RL.gif?raw=1)
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 03 กรกฎาคม 2017, 02:31:58 PM
คราวนี้มาดูที่ amplifier ของเรา สมมติว่าเป็น preamp หลอด ซึ่งหลายๆคนเวลาอ่าน review preamp หรือบางครั้งพูดต่อๆกันว่า preamp หลอดบางครั้ง drive poweramp บางตัวไม่ไหว เพราะ output impedance สูงเกินไป เรื่องนี้ สามารถอธิบายได้ตามนี้ครับ

สมมติต่อว่า ถ้า preamp มี output 2V, output impedance ของ preamp เท่ากับ 2K และ poweramp มี input impedance 10K
(https://www.dropbox.com/s/cuwdeiud3hgbtng/pre-power.png?raw=1)

preamp หลอดนั้น ถือเป็น voltage source อย่างหนึ่ง อย่างที่บอกไว้ในก่อนหน้านั้นว่า voltage source ก็มี output impedance (Ro) ส่วน RL คือ load ที่มาต่อกับ preamp ในที่นี้คือ poweramp คราวนี้เราแทนรูปอุปกรณ์ด้วยสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าได้ตามนี้
(https://www.dropbox.com/s/hmbb0sj20h3u9a1/Voltage-Ro-RL.gif?raw=1)

จากรูป กระแสที่ไหลจะไหลผ่าน Ro และ RL เกิดเป็น voltage ขึ้นมา เราสามารถใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ในการหา voltage ตกคร่อม RL ได้ดังนี้นี้

V = IR
2 = I x (Ro + RL)
I = 2 / (2K + 10K)
I = 0.167 mA

ดังนั้น voltage ตกคร่อม Ro = 0.167mA x 2Kohm = 0.334V
และ voltage ตกคร่อม RL=0.167mA x 10Kohm = 1.67V

คราวนี้ลองเปลี่ยนค่า RL ไปเรื่อยๆ จะได้ผลลัพธ์แบบนี้
(https://www.dropbox.com/s/niywninn5s5svbv/Voltage%20table%20calculation.PNG?raw=1)

จาก % ของ voltage ที่ drop ที่ load สรุปอะไรได้บ้างครับ?
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 03 กรกฎาคม 2017, 03:43:57 PM
ขอตอบว่า  ยิ่ง Input impedance ของเพาเวอร์แอมป์ สูงเท่าไร ยิ่งทำให้ความสูญเสียของสัญญาณ ลดลง

น่าจะมีผลทางคุณภาพเสียง หรือ เกณฑ์การขยายหรือเปล่าครับอาจารย์ 

ถ้า Input impedance น้อยๆ ก็จะทำให้เกณฑ์การขยายน้อย อาการก็จะเหมือนแอมป์ไม่แมทช์ และเสียงอั้นๆ

ผมคิดว่าแบบนี้ครับ  [embarrassed]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: paas ที่ 03 กรกฎาคม 2017, 04:17:18 PM
ตามมาเก็บเกี่ยวความรู้ครับ อาจารย์
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 03 กรกฎาคม 2017, 04:33:36 PM
ขอตอบว่า  ยิ่ง Input impedance ของเพาเวอร์แอมป์ สูงเท่าไร ยิ่งทำให้ความสูญเสียของสัญญาณ ลดลง

เข้าใจถูกต้องครับ

อ้างถึง
น่าจะมีผลทางคุณภาพเสียง หรือ เกณฑ์การขยายหรือเปล่าครับอาจารย์ 

gain ขยายจะตกลงครับ แต่คุณภาพเสียงตกหรือเปล่าแล้วแต่ตัววงจรครับ บางวงจรแม้ว่า gain จะตกเพราะ input impedance ของภาคถัดไปจะต่ำ แต่อาจจะคุณภาพเสียงอาจจะไม่ตกมาก

อ้างถึง
ถ้า Input impedance น้อยๆ ก็จะทำให้เกณฑ์การขยายน้อย อาการก็จะเหมือนแอมป์ไม่แมทช์ และเสียงอั้นๆ
ผมคิดว่าแบบนี้ครับ  [embarrassed]

เป็นไปได้ครับ เพราะถ้าตกมากๆ gain ที่มีอยู่ในเครื่องมันก็หายไป

จริงการหา Voltage ที่ RL แบบที่ผมทำนั้นเป็นแบบที่ทำทีละขั้นตอน ถ้าจะทำโดยไม่ต้องหาค่ากระแส I เลยก็ได้นะครับ
เรารู้มาว่า V = VRo + VRL
และกระแส (I) ของทั้งวงจรจะเท่ากันหมด
ดังนั้น
V = (I x Ro) + (I x RL)
V = I (Ro + RL)
I = V / (Ro + RL)

คราวนี้เราต้องการรู้ว่า voltage ที่ตกคร่อม RL เป็นเท่าไหร่ เราหาได้จาก
VRL = I x RL
แทนค่า I จากด้านบน
VRL = V / (Ro + RL) x RL
VRL = V x RL / (Ro + RL)

จำสูตรนี้ไว้ดีๆนะครับ เดี๋ยวจะเอามาใช้กับการคำนวน gain ของหลอดแบบรวดเร็ว เอาไว้ใช้เวลาคุณเล็กเอาหลอดมาขาย ดู spec คร่าวๆ คำนวนอย่างรวดเร็วแล้วกดซื้อได้อย่างทันท่วงที  [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 11:04:50 AM
เขามีมาตรฐานหรือข้อกำหนดไหมครับอาจารย์ ว่าอุปกรณ์เช่นเครื่องเล่น cd dac เครื่องเล่นแผ่น ควรมี output impedance อยู่ประมาณช่วงเท่าไรนะครับ หรือแล้วแต่ผู้ผลิตเลยครับ
แล้วถ้าเราจะทำปรีหรือแอมป์จะมีวิธีอย่างไรให้เล่นได้กับหลายๆ input ที่ impedance ต่างกันครับ

ขอบคุณความรู้ประเทืองมากครับอาจารย์ [0002053E]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: Cijtele52 ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 11:30:41 AM
สำหรับเครื่องเสียงบ้าน ไม่มีมาตรฐานครับ แต่ผู้ผลิตมักจะให้ output impedance ต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้ ส่วน input impedance ก็จะให้สูงที่สุดเท่าที่ทำได้ แต่สูงมากเกินไปก็ไม่ดีเช่นกัน เอาไว้มีโอกาสจะอธิบายอีกทีนึงครับ

ถ้าจะทำ preamp ก็ควรให้มี output impedance ต่ำกว่า input impedance ของภาคถัดไปอย่างน้อย 4-5 เท่าครับ ถ้าเป็นไปได้ก็ซัก 10 เท่าครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: atriam ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 11:41:44 AM
ครับขอบคุณครับอาจารย์ [YL76]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: johnney_chivas ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 12:15:21 PM
ตามเก็บความรู้อยู่ครับ
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: t43_noi ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 02:59:55 PM
.....  นักเรียนใหม่ ตามเก็บเกี่ยวความรู้ อย่างช้าๆครับ  [chick-slow]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: jaylae ที่ 04 กรกฎาคม 2017, 05:17:15 PM
ผมยังคิดเลขไปม่ผ่านเลย ตามอ่านกับเอามาลองคำนวณตามเองที่หลังอย่างเดียวเลย ไม่กล้าเข้าเรียนกลัวไม่ทันแล้วพาเื่อนๆช้า [chick1]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: t43_noi ที่ 14 กรกฎาคม 2017, 11:54:49 PM
.... ขอ กลับไปอ่านเรื่องการไบอัส สักสองรอบ   [yellow-lol]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: เอก-tubeamp ที่ 23 มกราคม 2018, 03:27:23 PM
ทบทวนบทเรียน
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: phraepet ที่ 24 เมษายน 2020, 10:15:03 AM
 [finger10]
หัวข้อ: Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
เริ่มหัวข้อโดย: sumrannangroong ที่ 24 พฤษภาคม 2020, 07:59:41 PM
ขอบคุณท่านเจ้าของกระทู้มากครับ ค่อยเข้ามาศึกษา  [finger16] อีกครับ