www.diyaudiovillage.net

DIY มือใหม่ , TIPS & TRICKS , R&D SECTION => TIPS & TRICKS => ข้อความที่เริ่มโดย: Davit ที่ 20 มีนาคม 2012, 09:21:43 PM

หัวข้อ: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: Davit ที่ 20 มีนาคม 2012, 09:21:43 PM
เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์....
(Noise Reduction Techniques in Electronic Systems)
ผศ. ดร. อภินันท์ ธนชยานนท์
apinunt@ieee.org

เป็นชีทของ ม.มหานครฯ มี 5 บทความ(1-5)

http://www.ee.mut.ac.th/course/eeet0433/ppt/chap5.pdf
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: Wizardmans ที่ 20 มีนาคม 2012, 10:11:19 PM
ขอบคุณครับ ผมขออนุญาตนำไปแจกต่อนะครับ
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: CreÃte_Lek ♫ ที่ 20 มีนาคม 2012, 10:23:39 PM
 ขอบคุณครับ    [g-o-o-d]
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: track ที่ 21 มีนาคม 2012, 07:11:34 AM
ขอบคุณครับ  [thumbs-up-raccoon]
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: numz ที่ 21 มีนาคม 2012, 07:35:23 AM
 [clap hand2] [res] clapping-1-2 ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: akradech ที่ 21 มีนาคม 2012, 07:57:51 AM
ขอบคุณครับ  clapping-1-2
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: rambutan ที่ 21 มีนาคม 2012, 09:33:22 AM
 clapping-1-2 clapping-1-2 clapping-1-2
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: yoyoeiei ที่ 21 มีนาคม 2012, 10:16:39 AM
ดีมากๆ เลยครับ     [res]


แต่ผมอ่านแล้ว งง -_-


เพราะเค้าไม่ได้ให้คำนิยามของคำว่า ความถี่สูง >>> มันคือเท่าไร  1k สูงรึเปล่า หรือว่าต้อง 100M ขึ้น ถึงจะเรียกว่าสูง

ผมเลยมึนๆ 

และก็เลยสรุปเอาเองเลยว่า ใช้ในเครื่องเสียง ต่อแบบ ขนานดีกว่า อนุกรม ^^;;


ลองผู้รู้มาสรุปให้เข้าใจแบบง่ายๆ อีกที่
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: Guy_Audio ที่ 21 มีนาคม 2012, 11:46:56 AM
ดีมากเลยครับ แต่ก็แอบงงเหมือนกันครับ [c--c]
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: tamarin51 ที่ 21 มีนาคม 2012, 02:46:04 PM
 clapping-1-2  ขอบคุณครับ
หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: Davit ที่ 21 มีนาคม 2012, 06:14:14 PM
ดีมากๆ เลยครับ     [res]


แต่ผมอ่านแล้ว งง -_-


เพราะเค้าไม่ได้ให้คำนิยามของคำว่า ความถี่สูง >>> มันคือเท่าไร  1k สูงรึเปล่า หรือว่าต้อง 100M ขึ้น ถึงจะเรียกว่าสูง

ผมเลยมึนๆ  

และก็เลยสรุปเอาเองเลยว่า ใช้ในเครื่องเสียง ต่อแบบ ขนานดีกว่า อนุกรม ^^;;


ลองผู้รู้มาสรุปให้เข้าใจแบบง่ายๆ อีกที่



อ้าว ภาคโทรคมฯ มาตอบหน่อย...
ผมหาได้เท่านี้

 การเเบ่งช่วงความถี่ (http://202.57.128.154/elect-7/Sitedirectory/124/2181/2662_การแบ่งย่านความถี่วิทยุ.pdf)

หัวข้อ: Re: เทคนิคการลดสัญญาณรบกวนใน วงจรและระบบอิเล็กทรอนิกส์
เริ่มหัวข้อโดย: audiomania ที่ 21 มีนาคม 2012, 07:18:18 PM
ไม่ใช่ก๊วนโทรคม แต่เป็นพวก"วัดคุม"  [roll] ตอบตามเทคนิคเครื่องมือวัดน่ะครับ

สำหรับส่วนตัวผมเอง งานเสียงที่เป็นอะนาลอกความถี่ต่ำกว่า 200kHz เป็นความถี่ต่ำครับ
ส่วนความถี่งาน DAC สัญญาณคุมโหมด และการพ่วงสัญญาณอื่นๆ ที่รูปสัญญาณมีช่วงที่เป็นสัญญาณสี่เหลี่ยม พวกพัลส์ที่มาประจำตามเวลา จะนับเป็นดิจิตอลทั้งหมดครับ

แต่เอาเข้าจริง ความสำคัญของกราวด์ความถี่สูงใน Chap.5 ช่วงหลังๆ ที่แนะนำการทำโครงข่าย digital ground จะหมายถึงความถี่ที่สูงเกิน 20MHz น่ะครับ เพราะมันจะเริ่มเกินความถี่ Fundametal ของ XTAL แล้ว การตัดสัญญาณรบกวนที่คลุมผิวตัวนำที่เรียงเป็นตารางจะช่วยคุม stray capacitive ได้ดีครับ

แต่งานความถี่ต่ำ หรือความถี่เสียง ใช้กราวด์เพลนจุดร่วมจุดเดียวจะดีกว่า และเอาจุดร่วมของดิจิตอลมารวมที่นี่ด้วย ตามรูปในเอกสารจะได้ผลดีที่สุดครับ

ส่วนวิธีแยกกราวด์ ก็ต้องดูเป็นกรณีๆ ไป ซึ่งปกติตัวแยกจำมีผลต่อแบนด์วิดธ์ที่ส่งผ่านจะหดลงด้วยครับ  [gr_in]