ผู้เขียน หัวข้อ: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด  (อ่าน 43857 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ CreÃte_Lek ♫

  • BuRaPha_TeAm
  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 57603
  • ถูกใจกด Like+ 1370
  • เพศ: ชาย
  • DHT Crazy Club
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #30 เมื่อ: 17 พฤษภาคม 2017, 11:44:19 PM »
 กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด
Define Me Radiant Charm  เชื่อในสิ่งที่เราเลือก และ ภูมิใจในความเป็นเราในแบบที่เราเป็น    

Define Me Radiant Bright ไม่ต้องปรับตัวเองให้เป็นใคร แต่เป็นเราในเวอร์ชั่นที่ดีขึ้นในทุกๆวัน

>>> ข้อมูลส่วนตัวครับ

ออฟไลน์ CreÃte_Lek ♫

  • BuRaPha_TeAm
  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 57603
  • ถูกใจกด Like+ 1370
  • เพศ: ชาย
  • DHT Crazy Club
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #31 เมื่อ: 17 พฤษภาคม 2017, 11:50:00 PM »
[enjoy-raccoon] อาจารย์ครับ
รบกวนขยายความตรงนี้หน่อยครับ งง
แม้ voltage ที่ grid เป็นลบ แต่ voltage ที่ Plate มีไม่เท่ากัน การนำกระแสก็จะไม่เท่ากันด้วย
  กำหนดจุดบน plate curve แล้วจะเห็นภาพ และ เข้าใจได้ง่ายขึ้นครับ กรณีที่ Vg คงที่  Vp เปลี่ยน กระแสก็จะเปลี่ยนไปด้วย

Define Me Radiant Charm  เชื่อในสิ่งที่เราเลือก และ ภูมิใจในความเป็นเราในแบบที่เราเป็น    

Define Me Radiant Bright ไม่ต้องปรับตัวเองให้เป็นใคร แต่เป็นเราในเวอร์ชั่นที่ดีขึ้นในทุกๆวัน

>>> ข้อมูลส่วนตัวครับ

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #32 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:07:45 AM »
ขยายความจากคุณเล็กให้ครับ

ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ


ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #33 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:24:24 AM »
อ้างถึง
ถ้าเป็นแบบนี้เราควรไล่วงจรจากทางเดินของอิเล็กตรอนหรือทางเดินของกระแส เพราะตอนนี้ผมงงอยู่เรื่องนึงซึ่งทำให้ไปต่อไม่ได้คือ กระแสเดินในวงจรยังไง เข้าทางไหน วิ่งไปทางไหน น้าเล็กพอจะมีตัวอย่างที่เห้นภาพชัดๆให้หน่อยได้ใหมครับ


กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด


คิดว่าต้องมีคนสงสัยแน่ๆ  [yellow-lol] เพราะสมัยเรียนหนังสือผมก็สงสัยเหมือนกันครับ

กระแสที่ไหลจากบวกไปลบนั้น เป็นแนวความคิดก่อนที่นักวิทยาศาสตร์จะมาเข้าใจทีหลังว่ากระแสคือการไหลของ electron ในยุคนั้นเวลาเขียนกระแสไหลจะเขียนจากบวกไปลบ และก็ใช้วิธีคิดนี้มาตลอดจนกระทั่งถึงวันนี้ครับ ซึ่งวิธีการคำนวนต่างๆก็ใช้การคำนวนกระแสที่ไหลจากบวกไปลบมาตลอด



เมื่อผ่านหลักการทำงานพื้นฐานของหลอด triode ไปแล้ว จะเป็นเรื่องการคำนวนซึ่งเราจะคุ้นเคยครับ

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #34 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:40:10 AM »
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

ออฟไลน์ Molecular Man

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 703
  • ถูกใจกด Like+ 49
  • เพศ: ชาย
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #35 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:52:29 AM »
 *ขออนุญาตแวะเข้ามาติดตาม...จะได้เคาะสนิมเก่าๆ ออกด้วยคนนะครับ..... [chick-clap]

 *ดีแล้วครับที่เริ่มจากหลอด TRIODE ไปพลางๆ ก่อน.. [chick7]

 

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #36 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:58:46 AM »
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ

ออฟไลน์ Warm

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1559
  • ถูกใจกด Like+ 48
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #37 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:23:41 AM »
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #38 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:41:58 AM »
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ



 [frightened-12]
รับทราบครับอาจารย์. จะรีบทำความเข้าใจโดยเร็วครับ

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #39 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:43:23 AM »
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]


ป๋า Warm. ช่วยชี้แนะด้วยครับ

ออฟไลน์ kakamax

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 8311
  • ถูกใจกด Like+ 123
  • เพศ: ชาย
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #40 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:46:25 AM »
ผมก็เข้ามาอ่านก่อนตั้งแต่เมื่อวานแล่ะ แต่ขอไปทำความเข้าใจด้วยตัวเองก่อน

ออฟไลน์ RuNgPuEnGⓇ

  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 9482
  • ถูกใจกด Like+ 590
  • Emergency :[img width=800 height=600]
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #41 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:50:08 AM »
งานเข้าป๋า paas [yellow-lol]


ป๋า Warm. ช่วยชี้แนะด้วยครับ

งานเข้าผมเหมือนกันเพราะไม่เห็นรูปบางรูปเนื่องจากระบบ ICT ของบริษัท  [chick4]

ออฟไลน์ BioTM

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 193
  • ถูกใจกด Like+ 28
  • "I am Engineering"
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #42 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 08:23:04 AM »
อ้างถึง
ถ้าเป็นแบบนี้เราควรไล่วงจรจากทางเดินของอิเล็กตรอนหรือทางเดินของกระแส เพราะตอนนี้ผมงงอยู่เรื่องนึงซึ่งทำให้ไปต่อไม่ได้คือ กระแสเดินในวงจรยังไง เข้าทางไหน วิ่งไปทางไหน น้าเล็กพอจะมีตัวอย่างที่เห้นภาพชัดๆให้หน่อยได้ใหมครับ


กระแสวิ่งสวนทางกับ electron ครับ คือ จาก เพลท ไป คาโทรด


คิดว่าต้องมีคนสงสัยแน่ๆ  [yellow-lol] เพราะสมัยเรียนหนังสือผมก็สงสัยเหมือนกันครับ

กระแสที่ไหลจากบวกไปลบนั้น เป็นแนวความคิดก่อนที่นักวิทยาศาสตร์จะมาเข้าใจทีหลังว่ากระแสคือการไหลของ electron ในยุคนั้นเวลาเขียนกระแสไหลจะเขียนจากบวกไปลบ และก็ใช้วิธีคิดนี้มาตลอดจนกระทั่งถึงวันนี้ครับ ซึ่งวิธีการคำนวนต่างๆก็ใช้การคำนวนกระแสที่ไหลจากบวกไปลบมาตลอด

http://youtu.be/4IXP5GM2IQU

เมื่อผ่านหลักการทำงานพื้นฐานของหลอด triode ไปแล้ว จะเป็นเรื่องการคำนวนซึ่งเราจะคุ้นเคยครับ


สรุปว่าต่อไปนี้เราจะคุยกันที่การไหลของกระแส จากบวกไปลบ ไช่ใหมครับ
"เสียงคือมวลสารที่เราจับต้องไม่ได้ แต่เราสามารถรับรู้ได้ว่ามันมีอยู่จริง">>ข้อมูลส่วนตัวครับ<<http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=18181.0

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #43 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 08:35:32 AM »
ใช่ครับ ถ้าเป็นวงจร คือเป็นสัญลักษณ์ต่างๆ และการคำนวน จะใช้จากบวกไปลบเสมอครับ

แต่ถ้าเป็นคำอธิบายถึงสิ่งที่เกิดขึ้นจริงๆภายในตัวหลอด ยังคงใช้การไหลของ electron ในการอธิบายเพื่อให้เห็นภาพครับ

ออฟไลน์ nh123

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1678
  • ถูกใจกด Like+ 62
  • เพศ: ชาย
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #44 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 08:43:13 AM »



ขอตอบด้วยครับ
ผมให้กริด คงที่ ที่ -4 v ลากไฟเพลทให้เพิ่มขึ้น 150 v ได้กระแส 7.5 ma,เพลท 200 v ได้กระแส 15 ma,เพลท 250 v ได้กระแส 22.5 ma ครับ(ตัวเลขโดยประมาณครับ) [embarrassed]

ออฟไลน์ nh123

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 1678
  • ถูกใจกด Like+ 62
  • เพศ: ชาย
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #45 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 08:45:11 AM »
กริดคงที่  ไฟเพลทเพิ่มขึ้น กระแสเพิ่มขึ้น ครับ

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #46 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 08:52:50 AM »
 [huge-thumbs-up]  [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]

ถ้าทุกคนเข้าใจตรงนี้ได้ การคำนวนจะง่ายขึ้นมากเลยครับ

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #47 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 10:23:49 AM »


ขอตอบด้วยครับ
ผมให้กริด คงที่ ที่ -4 v ลากไฟเพลทให้เพิ่มขึ้น 150 v ได้กระแส 7.5 ma,เพลท 200 v ได้กระแส 15 ma,เพลท 250 v ได้กระแส 22.5 ma ครับ(ตัวเลขโดยประมาณครับ) [embarrassed]



น้า nh123 ตอบ    ทำให้ผมเริ่มมองเห็นแสงสว่างจากปลายอุโมงค์ ก่อนนี้ ยังมองไม่เห็นทาง [chick-milk-bottle] [chick-milk-bottle] [chick-milk-bottle]

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #48 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 10:40:44 AM »
งั้นลองอธิบายตามความเข้าใจก็ได้นะครับ ไม่ต้องห่วงว่าถูกหรือผิด ถ้ามีข้อสงสัยก็ถามต่อได้เลยครับ

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #49 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 10:58:10 AM »
ติดตามแบบงงๆ พอเข้าใจบ้างครับ. เพราะไม่มีพื้นฐานมาก่อน
ไม่รู้จะถามอะไร ขอศึกษาไปเรื่อยๆก่อน. ครับ
ขอบคุณครับ

งั้นให้ทำการบ้านดีกว่า  [wink-12]

อ้างถึง
ถ้าเราเปรียบ voltage เป็นแรงดันของน้ำซึ่งใช้ปั๊มน้ำขนาดต่างกัน สมมติว่ากรณีที่ 1 ใช้ปั๊ม 500W และกรณีที่ 2 ใช้ปั๊ม 100W
เปรียบเทียบ grid คือก๊อกน้ำ

ถ้าเอาปั๊มทั้งสองต่อท่อขนาดเดียวกัน ก๊อกน้ำแบบเดียวกัน จะพบกว่า ถ้าอยากให้น้ำแรงเท่ากัน กรณีที่ 1 เปิดก๊อกนิดเดียวในขณะที่กรณีที่สองต้องเปิดมากหน่อยครับ ถ้ากลับไปดู plate curve ด้านบนจะพบกว่าเส้นแดงคือสิ่งที่อธิบายเปรียบเทียบกับก๊อกน้ำครับ ไฟที่อยู่ที่ grid ถ้ามีค่าลบน้อยลง เปรียบเทียบได้กับเปิดก๊อกน้ำมากขึ้น ลองลากอีกเส้นที่ขนานกับแกน Y (กระแส) ทางด้านขวาของเส้นแดง (plate voltage มากขึ้น) ก็จะพบว่า plate voltage สูงขึ้น ไม่ต้องใช้ voltage ที่ Grid เป็นลบมากนักก็จะได้กระเท่ากับเส้นแดงที่ plate voltage น้อยกว่าครับ

อยากให้คุณ paas ลองลากเส้นตามที่ผมทำข้อความด้านบนเป็นสีน้ำเงิน พร้อมคำอธิบายความเข้าใจว่าทำไม plate voltage ต่างกันในขณะที่ grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน? อธิบายเป็นภาพประกอบ หรือเป็นทางคณิตศาสตร์ก็ได้ครับ

หลังจากเห็นกระทู้น้าแล้ว nh123  แล้ว ขอตอบดังนี้ครับ
คำถาม  ทำไม  Plate voltage ต่างกัน ขณะที่ Grid voltage เท่ากัน ทำให้กระแสไหลไม่เท่ากัน   
ขอตอบ (เดา) เพราะว่า แรงดันไฟที่สูงกว่า เมื่อ Grige voltage เท่ากัน จึงปล่อยกระแสได้สูงกว่า
                  ตามภาพของน้า nh123  Plate voltage  ที่  200 v  Grid voltage -4 v  กระแส 15 mA   
                  ถ้า Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v  โดยประมาณ ใช่รึเปล่าครับ

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #50 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 11:07:16 AM »
 [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ

อ้างถึง
Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v

ถ้าดูตามรูป จะเห็นว่ามันไม่ตัดกับเส้น grid voltage เลย ดังนั้นเราต้องจินตนาการนิดหน่อยว่าเส้น grid ที่ขนานกับ -2V ที่บริเวณที่เส้น plate voltage (สีแดงแนวตั้ง) 150V ตัดกับเส้น plate current (สีแดงแนวนอน) อยู่ตรงไหน ลองวาดดูก็ได้ครับ

จากในรูป ผมประมาณเอาว่าน่าจะเป็นซัก -1.5V เพราะถ้ามันเป็น -1V มันควรจะอยู่ตรงกลางระหว่าง 0 กับ -2 แต่ทีเห็นมันเยื้องมาทางขวาหน่อย เลยน่าจะเป็น -1.5V ครับ

ออฟไลน์ BioTM

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 193
  • ถูกใจกด Like+ 28
  • "I am Engineering"
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #51 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 11:18:52 AM »
ตามความเข้าใจของผม เมื่ออิเล็กตรอนลบที่ขากริดเพิ่มขึ้นทำให้กระแสอิเล็กตรอนจากแท่ง cathode ที่เป็นลบเหมื่อนกันกระโดดมาหาอิเล็กตรอนที่เป้นบวกตรงแผ่นเพรทไม่ได้เพราะ เมื่ออิเล็กตรอนลบจาก cathode มาเจอกับ อิเล็กตรอนลบที่แผ่นกริดทำให้เกิดการผลักกันขึ้นเลยทำให้หลอดไม่นำกระแส แต่ในทางกลับกัน ถ้าอิเล็กตรอนที่แผ่นกริดลดลงซึ่งก็คือ ไฟบวก จึงทำให้อิเล็กตรอนจากแท่ง cathode วิ่งหาเพรทได้จึงเกิดการนำกระแส ยิ่งอิเล็กตรอนที่กริดน้อยลงเท่าใด กระแสที่ไหลจากแท่ง cathode ก็มีมากเท่านั้น ก็เลยเป็นที่มาของ กราฟคือ ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบมากเท่าใด กระแสกับแรงดันที่เพรตจะมากขึ้นตาม ผมเข้าใจถูกใหมครับ
"เสียงคือมวลสารที่เราจับต้องไม่ได้ แต่เราสามารถรับรู้ได้ว่ามันมีอยู่จริง">>ข้อมูลส่วนตัวครับ<<http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=18181.0

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #52 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 11:24:04 AM »
[huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up] [huge-thumbs-up]
เข้าใจถูกต้องแล้วครับ

อ้างถึง
Plate voltage ที่  150 v ต้องการกระที่ 15 mA เท่ากัน จะต้องใช้ Grid voltage เพิ่มขึ้น อยู่ที่  -1 v

ถ้าดูตามรูป จะเห็นว่ามันไม่ตัดกับเส้น grid voltage เลย ดังนั้นเราต้องจินตนาการนิดหน่อยว่าเส้น grid ที่ขนานกับ -2V ที่บริเวณที่เส้น plate voltage (สีแดงแนวตั้ง) 150V ตัดกับเส้น plate current (สีแดงแนวนอน) อยู่ตรงไหน ลองวาดดูก็ได้ครับ

จากในรูป ผมประมาณเอาว่าน่าจะเป็นซัก -1.5V เพราะถ้ามันเป็น -1V มันควรจะอยู่ตรงกลางระหว่าง 0 กับ -2 แต่ทีเห็นมันเยื้องมาทางขวาหน่อย เลยน่าจะเป็น -1.5V ครับ


ขอบคุณครับอาจารย์   [0002053E] [0002053E]


ออฟไลน์ CreÃte_Lek ♫

  • BuRaPha_TeAm
  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 57603
  • ถูกใจกด Like+ 1370
  • เพศ: ชาย
  • DHT Crazy Club
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #53 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 11:29:55 AM »
  หลอดบางเบอร์ก็ทำงานที่ V grid เป็นบวกนะครับ  หรือหลอดบางเบอร์ ขณะที่กริดเป็นบวกก็ยังสามารถที่จะนำกระแสได้อยู่
Define Me Radiant Charm  เชื่อในสิ่งที่เราเลือก และ ภูมิใจในความเป็นเราในแบบที่เราเป็น    

Define Me Radiant Bright ไม่ต้องปรับตัวเองให้เป็นใคร แต่เป็นเราในเวอร์ชั่นที่ดีขึ้นในทุกๆวัน

>>> ข้อมูลส่วนตัวครับ

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #54 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 01:57:39 PM »
ตามความเข้าใจของผม เมื่ออิเล็กตรอนลบที่ขากริดเพิ่มขึ้นทำให้กระแสอิเล็กตรอนจากแท่ง cathode ที่เป็นลบเหมื่อนกันกระโดดมาหาอิเล็กตรอนที่เป้นบวกตรงแผ่นเพรทไม่ได้เพราะ เมื่ออิเล็กตรอนลบจาก cathode มาเจอกับ อิเล็กตรอนลบที่แผ่นกริดทำให้เกิดการผลักกันขึ้นเลยทำให้หลอดไม่นำกระแส

ถูกต้องครับ

แต่ในทางกลับกัน ถ้าอิเล็กตรอนที่แผ่นกริดลดลงซึ่งก็คือ ไฟบวก จึงทำให้อิเล็กตรอนจากแท่ง cathode วิ่งหาเพรทได้จึงเกิดการนำกระแส ยิ่งอิเล็กตรอนที่กริดน้อยลงเท่าใด กระแสที่ไหลจากแท่ง cathode ก็มีมากเท่านั้น ก็เลยเป็นที่มาของ กราฟคือ ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบมากเท่าใด กระแสกับแรงดันที่เพรตจะมากขึ้นตาม ผมเข้าใจถูกใหมครับ

เข้าใจถูกครับ แต่สรุปผิดเล็กน้อย ต้องเป็น ถ้าแรงดันที่กริดเป็นลบน้อยลงเท่าใด กระแสที่เพรตจะมากขึ้นตาม ในขณะที่แรงดันเพลตยังเท่าเดิมครับ

ตอนนี้ยังไม่มีการต่อ load กับหลอดนะครับ ผมอธิบายตามวีดิโอที่เราป้อนไฟ B+ กับ plate และ bias voltage กับ grid

ออฟไลน์ Cijtele52

  • DAV Staff
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 883
  • ถูกใจกด Like+ 129
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #55 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 05:18:17 PM »
ก่อนจะไปต่อเรื่อง load line และการ bias หลอด มีการบ้านพื้นฐานการคำนวนทางไฟฟ้าง่ายๆให้ลองทำก่อนครับ ใครที่รู้แล้วขออย่าเพิ่ง post คำตอบนะครับ อยากให้คนไม่เคยทำ หรือคนที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า เป็นผู้ post คำตอบก่อนครับ

สูตรคำนวนทางไฟฟ้ามีสองสูตรดังนี้

R = V/I
R = ความต้านทาน (resistance), หน่วยเป็น ohm
V = แรงดัน (voltage), หน่วยเป็น volt
I = กระแส (current), หน่วยเป็น amp

P = IV
P = กำลังหรือพลังงาน (power) มีหน่วยเป็น Watt

จากรูปข้างล่าง
ข้อ 1 ให้หาค่า I, I1, I2, P1 และ P2
ข้อ 2 ให้หาค่า V และพลังงานความร้อนที่ R 12Kohm คายออกมาเมื่อมีกระแสผ่านวงจร



ออฟไลน์ BioTM

  • Full Member
  • ***
  • กระทู้: 193
  • ถูกใจกด Like+ 28
  • "I am Engineering"
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #56 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 05:20:22 PM »
ก่อนจะไปต่อเรื่อง load line และการ bias หลอด มีการบ้านพื้นฐานการคำนวนทางไฟฟ้าง่ายๆให้ลองทำก่อนครับ ใครที่รู้แล้วขออย่าเพิ่ง post คำตอบนะครับ อยากให้คนไม่เคยทำ หรือคนที่ไม่แน่ใจว่าถูกหรือเปล่า เป็นผู้ post คำตอบก่อนครับ

สูตรคำนวนทางไฟฟ้ามีสองสูตรดังนี้

R = V/I
R = ความต้านทาน (resistance), หน่วยเป็น ohm
V = แรงดัน (voltage), หน่วยเป็น volt
I = กระแส (current), หน่วยเป็น amp

P = IV
P = กำลังหรือพลังงาน (power) มีหน่วยเป็น Watt

จากรูปข้างล่าง
ข้อ 1 ให้หาค่า I, I1, I2, P1 และ P2
ข้อ 2 ให้หาค่า V และพลังงานความร้อนที่ R 12Kohm คายออกมาเมื่อมีกระแสผ่านวงจร



รับทราบครับ
"เสียงคือมวลสารที่เราจับต้องไม่ได้ แต่เราสามารถรับรู้ได้ว่ามันมีอยู่จริง">>ข้อมูลส่วนตัวครับ<<http://www.diyaudiovillage.net/index.php?topic=18181.0

ออฟไลน์ CreÃte_Lek ♫

  • BuRaPha_TeAm
  • Global Moderator
  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 57603
  • ถูกใจกด Like+ 1370
  • เพศ: ชาย
  • DHT Crazy Club
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #57 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:14:27 PM »
 เด็ก นิติ  เศรษฐศาสตร์ บัญชี  มึนตรึบล่ะทีนี้  [frightened-12]
Define Me Radiant Charm  เชื่อในสิ่งที่เราเลือก และ ภูมิใจในความเป็นเราในแบบที่เราเป็น    

Define Me Radiant Bright ไม่ต้องปรับตัวเองให้เป็นใคร แต่เป็นเราในเวอร์ชั่นที่ดีขึ้นในทุกๆวัน

>>> ข้อมูลส่วนตัวครับ

ออฟไลน์ momo

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 772
  • ถูกใจกด Like+ 8
  • เพศ: ชาย
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #58 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 06:30:11 PM »
ขออนุญาติเสริมครับ
ถ้าจะคำนวนให้ได้คงต้องรู้สูตรการคิดค่า R รวมด้วยครับอาจารย์
 Rต่อแบบอนุกรม            Rรวม = R1+R2+R...
 Rต่อแบบขนาน          1/Rรวม = 1/R1 +1/R2+ 1/R.....  [wink-11]

ออฟไลน์ paas

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 2068
  • ถูกใจกด Like+ 97
Re: ห้องเรียนพื้นฐานการออกแบบแอมป์หลอด
« ตอบกลับ #59 เมื่อ: 18 พฤษภาคม 2017, 07:14:23 PM »
ขอลองตอบนะครับ


I1,P1
R=V/I.    7000=350/I. (I=0.05a)
P=IV.      0.05*350 =17.50w

I2,P2
R=V/I.     12000=350/I (I=0.0297a)
P=IV.       0.0297*350 =10.40W


น่าจะผิดแน่นอน.